คำศัพท์ 단어
겨절 คยอ-จอล / ฤดูกาล
봄 พม / ฤดูใบไม้ผลิ ............... 여름 ยอ-รึม / ฤดูร้อน
가을 คา-อึล / ฤดูใบไม้ร่วง....... 겨울 คยอ-อุล / ฤดูหนาว
ทิศ
북쪽พก-จก / ทิศเหนือ , 남쪽 นัม-จก / ทิศใต้ ,
동쪽 ทง-จก / ทิศตะวันออก , 서쪽 ซอ-จก / ทิศตะวันตก ,
동북쪽 ทง-พก-จก / ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ , 동남쪽 ทง-นัม-จก / ทิศตะวันออกเฉียงใต้
서북쪽 ซอ-พก-จก / ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ , 서남쪽 ซอ-นัม-จก / ทิศตะวันตกเฉียงใต้
색 สี
갈색 คัล-เซก / สีน้ำตาล , 까만색 คัน-มัน-เซก / สีดำ , 노란색 โน-รัน-เซก / สีเหลือง
녹색 นก-เซก / สีเขียว , 보라색 โพ-รา-เซก / สีม่วง , 빨간색 ปัล-กัน-เซก / สีแดง
파란색 พา-รัน-เซก / สีน้ำเงิน , 하늘색 ฮา-นึล-เซก / สีฟ้า, 하얀색 ฮา-ยัน-เซก / สีขาว,
분홍색 พุน-ฮง-เซก / สีชมพู , 금색 คึม-เซก / สีทอง, 은색 อึน-เซก / สีเงิน , 회색 ฮวี-เซก / สีเทา
คำศัพท์แบ่งออกเป็น 2 แบบหลักๆคือ กริยาแสดงการกระทำ และคำกริยาอธิบายสภาพ(หรือเรียกว่าคำคุณศัทพ์ก็ได้มั้ง)
AV (กริยาการกระทำ) ……………………........................DV (กริยาอธิบายสภาพ)
가르치다 คา-รือ-ชี่-ดา / สอน..................................가깝다 คา-กับ-ตะ / ใกล้
가지고가다 คา-จี-โก-คา-ดา / เอาไป........................ 가볍다 คา-บยอบ-ตะ / เบา
가지고오다 คา-จี-โก-โอ-ดา / เอามา........................ 고장나다 โค-จัง-นา-ดา / เสีย
거짓말하다 คอ-จิด-มัล-ฮา-ดา / พูดโกหก.................. 귀엽다 ควี-ยอบ-ตะ / น่ารัก
건너다 คอน-นอ-ดา / ข้าม ......................................기억하다 คี-ออก-ฮา-ดา / จดจำ
결혼하다 คยอ-รน-ฮา-ดา / แต่งงาน........................... 깨끗하다 แก-กือ-ทา-ดา / สะอาด
고르다 โค-รือ-ดา / เลือก ........................................화가나다 ฮวา-กา-นา-ดา / โกรธ
고치다 โค-ชี่-ดา / ซ่อม ........................................나쁘다 นา-ปือ-ดา / ไม่ดี
구경하다 คู-คยอง-ฮา-ดา / เที่ยวชม ...........................다르다 ทา-รือ-ดา / แตกต่าง
기다리다 คี-ดา-รี-ดา / รอ ...................................... 더럽다 ทอ-รอบ-ตะ / สกปรก
기도하다 คี-โด-ฮา-ดา / ภาวนา, อษิฐาน ..................... 덥다 ท๊อบ-ตะ / ร้อน
기침을하다 คี-ชี่-มึล-ฮา-ดา / ไอ ............................. 따뜻하다 ตา-ตือ-ท่า-ดา / อบอุ่น
끄다 กือ-ดา / ปิด (ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า) ..................... 똑똑하다 ต๊ก-ต๊ก-ฮา-ดา / ฉลาด
닫다 ทัด-ตะ / ปิด ................................................ 뚱뚱하다 ตุง-ตุง-ฮา-ดา / อ้วน
낚시하다 นัก-ชี-ฮา-ดา / ตกปลา .............................. 멀다 มอล-ดา / ไกล
다녀오다 ทา-นยอ-โอ-ดา / ไปแล้วกลับ ...................... 모르다 โม-รือ-ดา / ไม่รู้
다니다 ทา-นี-ดา / ไป (เป็นประจำ) ........................... 멋있다 มอ-ชิส-ตะ / เท่ห์, ดูดี
다리미질을 하다 ทา-รี-มี-จี-รึล-ฮา-ดา / รีดผ้า ............. 믿다 มิด-ตะ / เชื่อ
담배를피우다 ทัม-แบ-รึล-พี-อู-ดา / สูบบุหรี่ ................ 쉽다 ชวีป-ตะ / ่ง่าย
대답하다 แท-ดับ-ฮา-ดา / ตอบ ................................ 시끄럽다 ชี-กือ-รอบ-ตะ / เสียงดัง
도착하다 โท-ช่า-ค่า-ดา / ถึง ...................................아름답다 อา-รึม-ทับ-ตะ / สวยงาม
돕다 ทบ-ตะ / ช่วย ................................................어렵다 ออ-รยอบ-ตะ / ยาก
드시다 ทือ-ชี-ดา / รับประทาน ...................................예쁘다 เย-ปือ-ดา / สวย
등산하다 ทึง-ซัน-ฮา-ดา / ปีนเขา .............................. 유명하다 ยู-มยอง-ฮา-ดา / มีชื่อเสียง
떠나다 ตอ-นา-ดา / จากไป .......................................이기다 อี-กี-ดา / ชนะ
만들다 มัน-ดึล-ดา / ทำ ..........................................이상하다 อี-ซัง-ฮา-ดา / แปลก
받다 พัด-ตะ / ได้รับ ................................................이야가하다 อี-ยา-กี-ฮา-ดา / พูดคุย, เล่า
배우다 แพ-อู-ดา / เรียน ...........................................인사하다 อิน-ซา-ฮา-ดา / ทักทาย
시험을보다 ชี-ฮอ-มึล-โพ-ดา / สอบ ............................ 잊어버리다 อิ-จอ-บอ-รี-ดา / ลืมไปแล้ว
복습하다 พก-ซึบ-ฮา-ดา / ทบทวน .............................. 잃어버리다 อี-รอ-บอ-รี-ดา / หาย
부르다 พู-รือ-ดา / เรียก ........................................... 소용하다 โซ-ยง-ฮา-ดา / เงียบ
부탁을하다 พู-ทา-กึล-ฮา-ดา / ขอร้อง .......................... 친절하다 ชิ่น-จอน-ฮา-ดา / ใจดี
사진을 찍다 ซา-จิ-นึล-จิก-ตะ / ถ่ายรูป ..........................키가크다 คี-กา-คือ-ดา / ตัวสูง, ตัวใหญ่
산색하다 ซัน-เชก-ฮา-ดา / เดินเล่น ............................ 키가작다 คี-กา-จัก-ตะ / ตัวเตี้ย, ตัวเล็ก
생각하다 เซง-กา-ค่า-ดา / คิด ..................................... 특별하다 ทึก-พยอล-ฮา-ดา / เป็นพิเศษ
설명하다 ซอล-มยอง-ฮา-ดา / อธิบาย ............................ 편하다 พยอน-ฮา-ดา / สะดวก-สบาย
소개하다 โซ-เก-ฮา-ดา / แนะนำ .................................. 피곤하다 พี-กน-ฮา-ดา / เหนื่อย
소풍가다 โซ-พุง-คา-ดา / ไปปิกนิค .............................. 걱정하다 ค๊อก-จอง-ฮา-ดา / เป็นห่วง
시작하다 ชี-จา-ค่า-ดา / เริ่ม ....................................... 배가고프다 แพ-กา-โค-พือ-ดา / หิว
사키다 ชี-คี-ดา / สั่ง ................................................ 길다 คิล-ดา / ยาว
신다 ชิน-ดา / สวม,ใส่ (รองเท้า) ....................................넓다 นอล-ต้า / กว้าง
여행하다 ยอ-แฮง-ฮา-ดา / ท่องเที่ยว .............................. 높다 นพ-ตะ / สูง (ใช้กับสิ่งของ)
연락하다 ยอน-รัก-ฮา-ดา / ติดต่อ .................................. 다됐다 ทา-ดเวท-ตะ / เสร็จสิ้น
예금하다 เย-กึม-ฮา-ดา / ฝากเงิน .................................. 달다 ทัล-ดา / หวาน
운전하다 อุน-จอน-ฮา-ดา / ขับรถ ................................. 짜다 จา-ดา / เค็ม
울다 อุล-ดา / ร้องไห้ .................................................. 시다 ชี-ดา / เปรี้ยว
웃다 อุด-ดา / หัวเราะ ................................................. 맵다 แมบ-ต้า / เผ็ด
이사하다 อี-ซา-ฮา-ดา / ย้าย ....................................... 쓰다 ซือ-ดา / ขม
일어나다 อี-รอ-นา-ดา / ตื่น ........................................ 싱겁다 ชิง-กอบ-ตะ / จืด
준비하다 ชุน-บี-ฮา-ดา / เตรียม .................................... 빠르다 ปา-รือ-ดา / เร็ว
찾아오다 ช่า-จา-โอ-ดา / มาหา .................................... 비싸다 พี-ซา-ดา / แพง
청소하다 ช่อง-โซ-ฮา-ดา / ทำความสะอาด ....................... 싸다 ซา-ดา / ถูก
출발하다 ชุล-บัล-ฮา-ดา / ออกเดินทาง ........................... 아주 อา-จู / มากมาย
*** 어머!!! 아주 단어는 꼭 기억해요.***
Let's Speak Korean (Eps_Topik)
คำศัพท์ ภาษาเกาหลี
10/18/2559
ไวยกรณ์ 4
*** คำช่วยแสดงประธาน และกรรมในประโยค
เมื่อเราผันกริยาเป็นก็จะสามารถแต่งประโยคสั้นๆได้แล้วนะคะแต่ต้องมารู้จักคำชี้ประธาน, ชี้กรรมกันก่อน คำชี้ประธาน,
คำชี้กรรมไม่มีความหมายแต่ต้องใส่เพื่อให้รู้ว่าคำไหนทำหน้าที่เป็นประธานหรือเป็นกรรมในประโยค
** คำช่วยแสดงประธาน 이/가
วางไว้หลังคำนามเพื่อแสดงให้เห็นว่าคำนามนั้นทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค
วิธีการเติม
วาง 이 ไว้หน้าคำนามที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด
가방 + 이 --> 가방이 예뻐요. คาบางี เยปอโย (กระเป๋าสวย)
วาง가 ไว้หน้าคำนามที่ลงท้ายด้วยสระ
오빠 + 가 --> 오빠가 전화해요โอป้ากา ชอนฮวาแฮโย (พี่ชายโทรศัพท์)
นอกจาก 이/가 ที่ทำหน้าที่ชี้ประธานยังมีอีกที่ทำหน้าที่ชี้ประธานคือ 은, 는 โดย
은, 는ใช้ชี้เฉพาะเจาะจง ส่วน이/가 ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง กล่าวทั่วๆไป
วิธีการเติม
วาง 은 ไว้หน้าคำนามที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด
옷 + 은 --> 옷은 비쌉니다. โอ-ซึน พี-ซัม-นี-ดา (เสื้อแพง)
วาง 는 ไว้หน้าคำนามที่ลงท้ายด้วยสระ 오빠 + 는 --> 오빠는 운동해요. โอ-ป้า-นึน อุน-ดง-แฮ-โย (พี่ชาย ออกกำลังกาย
Notice :
สำหรับใช้กับคำว่า “ฉัน” ใช้ได้ทั้ง 저는 (ชอ-นึน) หรือ 제가(เช-กา) / 내가 (แน-กา) แต่ 2 คำหลังต้องใช้คู่กับ 가 เท่านั้น
เพราะถ้าคำเดียวจะแปลว่า ของฉัน
** คำช่วยแสดงกรรม 을 / 를
วางไว้หลังคำนามเพื่อแสดงให้เห็นว่าคำนามนั้นทำหน้าที่กรรมในประโยค โดยใช้ร่วมกับคำกริยาที่ต้องการกรรมมาเติมเต็ม
โครงสร้างประโยค ประธาน + กรรม+ คำกริยา (ที่ผันแล้ว) การแปลความหมายขึ้นต้นประโยคด้วยประธานแล้วแปลจากหลังไปหน้า
วิธีเติม
วาง을 หลังคำนามที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด
저는 책을 읽어요.
ชอนึน แชกึล อิลกอโย = ฉันอ่านหนังสือ
(저 + คำชี้ประธาน는 / 책 + คำชี้กรรม 을 / คำกริยาที่ผันแล้ว -읽어요)
วาง를 หลังคำนามที่ลงท้ายด้วยสระ
동생이 사과를 먹어요.
ทงแซงี ซากวารึล มอกอโย = น้องกินแอปเปิ้ล
동생+ คำชี้ประธาน이 / 사과+ คำชี้กรรม를 / คำกริยาที่ผันแล้ว - 먹어요
***무엇을 해요? ในรูป 요 --> 무엇 แปลว่าอะไร เติมชี้กรรม 을 + คำว่า해요(ทำ) = ทำอะไร?
แต่นิยมผสมคำจึงออกเสียงว่า 뭐 해요? มวอ-แฮ-โย๊?
แต่ถ้าใช้กับคำกริยาอื่นๆก็ใช้ 무엇을 มู-ออ-ซึล ตามปกติเช่น 무엇을 먹어요? มู-ออ-ซึล มอ-กอ-โย๊? = กินอะไร?
Notice :
ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วย 하다 จะใส่คำชี้กรรมหรือไม่ใส่ก็ได้ ยกเว้นคำว่า 촣아하다 ต้องใส่คำชี้กรรมด้วย
저는 숙재를 해요 หรือ 저는 숙재해요
***การสังเกตง่ายๆ ไม่ว่าจะเป็น 이/가, 은/ 는 หรือ 을 / 를 คำที่มีตัว ㅇ มักจะตามคำที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด
เพราะจะเข้ากับกฎการโยงเสียง
** คำช่วยแสดงสถานที่ 에 / 에서
คำช่วยแสดงสถานที่ 에 (Direction) เป็นการชี้สถานที่ที่เป็นจุดหมายปลายทางมักใช้ร่วมกับคำกริยาที่แสดง
การเคลื่อนที่ เช่น 가다 (ไป) , 오다(มา) , 돌아가다(กลับไป) , 돌어가다(เข้าไป), 놀아가다(ไปเที่ยว) ,
내려가다(ลงไป) , 걸어가다(เดินไป) เป็นต้น จำง่ายๆที่ลงท้ายด้วย 가다 กับ 오다 จะใช้ 에 เป็นคำช่วยแสดงสถานที่ เช่น
아버자가 한국에 가요.
อาบอจีกา ฮันกูเก คาโย = พ่อไปที่ประเทศเกาหลี
친구가 집에 와요.
ชิ่นกูกา ชีเบ วาโย = เพื่อนมาที่บ้าน
준수씨가 태국에 가요?
จุนซูชี่กา เทกูเก คาโย = คุณจุนซูไปประเทศไทยหรือคะ?
어디에 가요?
ออดีเอ คาโย๊ะ? = ไปไหนหรือคะ?
(Location) ชี้สถานที่ที่สิ่งใดมีอยู่ หรือไม่ได้มีอยู่ ใช้ร่วมกับคำกริยา 있다 , 없다เป็นลักษณะประโยคที่แสดงว่า
อะไร/ใครอยู่/ไม่ได้อยู่ที่ไหน เช่น
아버자가 한국에 있어요. = พ่ออยู่ที่ประเทศเกาหลี
아버자가 태국에 없어요. = พ่อไม่ได้อยู่ที่ประเทศไทย
선생님이 학교에 있어요? = อาจารย์อยู่ที่โรงเรียนหรือเปล่าคะ?
여동생이 어디에 있어요? = น้องสาวอยู่ที่ไหนหรือคะ?
*** จำง่ายๆคำช่วยแสดงสถานที่ 에 ใช้กับกริยา가다, 오다, 있다 , 없다 และคำกริยาผสมที่มีคำว่า 가다, 오다 รวมอยู่ด้วย
เท่านั้นส่วนกริยาอื่นๆใช้ 에서
에서 + Action Verb
- ชี้สถานที่ที่มีการกระทำเกิดขึ้น ใช้ร่วมกับคำกริยาการกระทำ
- เป็นลักษณะประโยคที่แสดงว่าใครทำอะไรที่ไหน
- โครงสร้างประโยค คือ
[ประธาน (이/가)+ สถานที่ (에서)+ กรรม(을/를) + คำกริยาที่ผันแล้ว
아버자가 한곡에서 일해요?
อาบอจีกา ฮันกูเกซอ อิลแฮโย๊ะ ? = คุณพ่อทำงานที่ประเทศเกาหลีหรือคะ?
어디에서 공부합니까?
ออดีเอซอ คงบูฮัมนิก้า ? = เรียนที่ไหนหรือคะ ?
백화점에서 뭐 해요?
แบควาจอเมซอ มวอ แฮโย๊ะ? = ทำอะไรที่ห้าง?
에, 에서 เป็นคำช่วยชี้สถานที่ 에 ยังเป็นคำช่วยในการชี้วันและเวลาอีกด้วยแสดงความหมายเหมือน
at, on ในภาษาอังกฤษ เช่น
오후에 친구를 만나요.
โอ-ฮู-เอ ชิ่น-กู-รึล มัน-นา-โย = พบเพื่อนในตอนบ่าย
토요일에도 회사에 갑니까?
โท่-โย-อิ-เร-โด ฮเว-ซา-เอ คัม-นิ-ก้า? = วันเสาร์ก็ไปทำงานด้วยหรือคะ
여덟시에 학교에 갑니다.
ยอ-ดอล ชี-เอ ฮัก-กโย-เอ คัม-นิ-ดา. = ไปโรงเรียนตอน 8 โมง
เมื่อเราผันกริยาเป็นก็จะสามารถแต่งประโยคสั้นๆได้แล้วนะคะแต่ต้องมารู้จักคำชี้ประธาน, ชี้กรรมกันก่อน คำชี้ประธาน,
คำชี้กรรมไม่มีความหมายแต่ต้องใส่เพื่อให้รู้ว่าคำไหนทำหน้าที่เป็นประธานหรือเป็นกรรมในประโยค
** คำช่วยแสดงประธาน 이/가
วางไว้หลังคำนามเพื่อแสดงให้เห็นว่าคำนามนั้นทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค
วิธีการเติม
วาง 이 ไว้หน้าคำนามที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด
가방 + 이 --> 가방이 예뻐요. คาบางี เยปอโย (กระเป๋าสวย)
วาง가 ไว้หน้าคำนามที่ลงท้ายด้วยสระ
오빠 + 가 --> 오빠가 전화해요โอป้ากา ชอนฮวาแฮโย (พี่ชายโทรศัพท์)
นอกจาก 이/가 ที่ทำหน้าที่ชี้ประธานยังมีอีกที่ทำหน้าที่ชี้ประธานคือ 은, 는 โดย
은, 는ใช้ชี้เฉพาะเจาะจง ส่วน이/가 ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง กล่าวทั่วๆไป
วิธีการเติม
วาง 은 ไว้หน้าคำนามที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด
옷 + 은 --> 옷은 비쌉니다. โอ-ซึน พี-ซัม-นี-ดา (เสื้อแพง)
วาง 는 ไว้หน้าคำนามที่ลงท้ายด้วยสระ 오빠 + 는 --> 오빠는 운동해요. โอ-ป้า-นึน อุน-ดง-แฮ-โย (พี่ชาย ออกกำลังกาย
Notice :
สำหรับใช้กับคำว่า “ฉัน” ใช้ได้ทั้ง 저는 (ชอ-นึน) หรือ 제가(เช-กา) / 내가 (แน-กา) แต่ 2 คำหลังต้องใช้คู่กับ 가 เท่านั้น
เพราะถ้าคำเดียวจะแปลว่า ของฉัน
** คำช่วยแสดงกรรม 을 / 를
วางไว้หลังคำนามเพื่อแสดงให้เห็นว่าคำนามนั้นทำหน้าที่กรรมในประโยค โดยใช้ร่วมกับคำกริยาที่ต้องการกรรมมาเติมเต็ม
โครงสร้างประโยค ประธาน + กรรม+ คำกริยา (ที่ผันแล้ว) การแปลความหมายขึ้นต้นประโยคด้วยประธานแล้วแปลจากหลังไปหน้า
วิธีเติม
วาง을 หลังคำนามที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด
저는 책을 읽어요.
ชอนึน แชกึล อิลกอโย = ฉันอ่านหนังสือ
(저 + คำชี้ประธาน는 / 책 + คำชี้กรรม 을 / คำกริยาที่ผันแล้ว -읽어요)
วาง를 หลังคำนามที่ลงท้ายด้วยสระ
동생이 사과를 먹어요.
ทงแซงี ซากวารึล มอกอโย = น้องกินแอปเปิ้ล
동생+ คำชี้ประธาน이 / 사과+ คำชี้กรรม를 / คำกริยาที่ผันแล้ว - 먹어요
***무엇을 해요? ในรูป 요 --> 무엇 แปลว่าอะไร เติมชี้กรรม 을 + คำว่า해요(ทำ) = ทำอะไร?
แต่นิยมผสมคำจึงออกเสียงว่า 뭐 해요? มวอ-แฮ-โย๊?
แต่ถ้าใช้กับคำกริยาอื่นๆก็ใช้ 무엇을 มู-ออ-ซึล ตามปกติเช่น 무엇을 먹어요? มู-ออ-ซึล มอ-กอ-โย๊? = กินอะไร?
Notice :
ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วย 하다 จะใส่คำชี้กรรมหรือไม่ใส่ก็ได้ ยกเว้นคำว่า 촣아하다 ต้องใส่คำชี้กรรมด้วย
저는 숙재를 해요 หรือ 저는 숙재해요
***การสังเกตง่ายๆ ไม่ว่าจะเป็น 이/가, 은/ 는 หรือ 을 / 를 คำที่มีตัว ㅇ มักจะตามคำที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด
เพราะจะเข้ากับกฎการโยงเสียง
** คำช่วยแสดงสถานที่ 에 / 에서
คำช่วยแสดงสถานที่ 에 (Direction) เป็นการชี้สถานที่ที่เป็นจุดหมายปลายทางมักใช้ร่วมกับคำกริยาที่แสดง
การเคลื่อนที่ เช่น 가다 (ไป) , 오다(มา) , 돌아가다(กลับไป) , 돌어가다(เข้าไป), 놀아가다(ไปเที่ยว) ,
내려가다(ลงไป) , 걸어가다(เดินไป) เป็นต้น จำง่ายๆที่ลงท้ายด้วย 가다 กับ 오다 จะใช้ 에 เป็นคำช่วยแสดงสถานที่ เช่น
아버자가 한국에 가요.
อาบอจีกา ฮันกูเก คาโย = พ่อไปที่ประเทศเกาหลี
친구가 집에 와요.
ชิ่นกูกา ชีเบ วาโย = เพื่อนมาที่บ้าน
준수씨가 태국에 가요?
จุนซูชี่กา เทกูเก คาโย = คุณจุนซูไปประเทศไทยหรือคะ?
어디에 가요?
ออดีเอ คาโย๊ะ? = ไปไหนหรือคะ?
(Location) ชี้สถานที่ที่สิ่งใดมีอยู่ หรือไม่ได้มีอยู่ ใช้ร่วมกับคำกริยา 있다 , 없다เป็นลักษณะประโยคที่แสดงว่า
อะไร/ใครอยู่/ไม่ได้อยู่ที่ไหน เช่น
아버자가 한국에 있어요. = พ่ออยู่ที่ประเทศเกาหลี
아버자가 태국에 없어요. = พ่อไม่ได้อยู่ที่ประเทศไทย
선생님이 학교에 있어요? = อาจารย์อยู่ที่โรงเรียนหรือเปล่าคะ?
여동생이 어디에 있어요? = น้องสาวอยู่ที่ไหนหรือคะ?
*** จำง่ายๆคำช่วยแสดงสถานที่ 에 ใช้กับกริยา가다, 오다, 있다 , 없다 และคำกริยาผสมที่มีคำว่า 가다, 오다 รวมอยู่ด้วย
เท่านั้นส่วนกริยาอื่นๆใช้ 에서
에서 + Action Verb
- ชี้สถานที่ที่มีการกระทำเกิดขึ้น ใช้ร่วมกับคำกริยาการกระทำ
- เป็นลักษณะประโยคที่แสดงว่าใครทำอะไรที่ไหน
- โครงสร้างประโยค คือ
[ประธาน (이/가)+ สถานที่ (에서)+ กรรม(을/를) + คำกริยาที่ผันแล้ว
아버자가 한곡에서 일해요?
อาบอจีกา ฮันกูเกซอ อิลแฮโย๊ะ ? = คุณพ่อทำงานที่ประเทศเกาหลีหรือคะ?
어디에서 공부합니까?
ออดีเอซอ คงบูฮัมนิก้า ? = เรียนที่ไหนหรือคะ ?
백화점에서 뭐 해요?
แบควาจอเมซอ มวอ แฮโย๊ะ? = ทำอะไรที่ห้าง?
에, 에서 เป็นคำช่วยชี้สถานที่ 에 ยังเป็นคำช่วยในการชี้วันและเวลาอีกด้วยแสดงความหมายเหมือน
at, on ในภาษาอังกฤษ เช่น
오후에 친구를 만나요.
โอ-ฮู-เอ ชิ่น-กู-รึล มัน-นา-โย = พบเพื่อนในตอนบ่าย
토요일에도 회사에 갑니까?
โท่-โย-อิ-เร-โด ฮเว-ซา-เอ คัม-นิ-ก้า? = วันเสาร์ก็ไปทำงานด้วยหรือคะ
여덟시에 학교에 갑니다.
ยอ-ดอล ชี-เอ ฮัก-กโย-เอ คัม-นิ-ดา. = ไปโรงเรียนตอน 8 โมง
ไวยกรณ์ 3
시 คือปัจจัยยกย่องที่เติมหลังคำกริยาเมื่อกล่าวถึงผู้ใหญ่ หรือผู้ที่เราควรแสดงความเคารพนอบน้อม โดยทั่วไป
จะไม่กล่าวถึงคนที่มีวัยวุฒิน้อยกว่าตัวเอง และห้ามใช้ในประโยคที่กล่าวถึงตัวเอง
*** การใช้ปัจจัย 시
1.ใช้ในประโยคคำถาม เพื่อแสดงความสุภาพหรือยกย่องผู้ที่เราสนทนาด้วย V+(으) 십니까?
2.ใช้ในประโยคบอกเล่า โดยประโยคบอกเล่าต้องเป็นการกล่าวถึงบุคคลอื่นเพื่อแสดงความยกย่องบุคคลนั้น เช่น คุณย่า, คุณพ่อ, คุณครู ฯลฯ และห้ามใช้กล่าวถึงตัวเอง เพราะเรายกย่องตัวเองไม่ได้ V + (으) 십니다.
3.ใช้ในประโยคคำสั่งแบบสุภาพ แปลว่า “กรุณา” หรือ “เชิญ” เช่น เชิญนั่ง , เชิญอ่าน, กรุณาพูดภาษาเกาหลี ฯลฯ V + (으) 세요. (ใช้ในประโยคคำถาม บอกเล่า และคำสั่งแบบสุภาพ)
วิธีการเติมดูที่การลงท้ายของคำกริยาเหมือนเดิม คือ ตัด 다 ทิ้งถ้าลงท้ายด้วยสระ ให้เติม십니까? / 십니다 / 세요 แต่ถ้าลงท้ายด้วยตัวสะกดให้เติม 으십니까? / 으십니다 / 으세요
A : 어디에 가십니까?
ออ-ดิ-เอ คา-ชิม-นี-ก้า? = ไปไหนหรือคะ
B : 병원에 갑니다.
พยอง-วอ-เน คัม-นิ-ดา = ไปโรงพยาบาล
หมายเหตุ : A ถามด้วยปัจจัย 시 แสดงความยกย่อง B แต่ B เป็นผู้ตอบจะตอบแบบใช้ปัจจัยยกย่องไม่ได้
A : 할아버지가 무엇을 하십나까?
ฮา-รา-บอ-จี-กา มู-ออ-ซึล ฮา-ชิม-นี-ก้า? = คุณปู่ทำอะไรหรือคะ?
B : 할아버지가 신문을 읽으십니다.
ฮา-รา-บอ-จี-กา ชิน-มู-นึล อิล-กือ-ชิม-นี-ดา = คุณปู่อ่านหนังสือพิมพ์
หมายเหตุ : B ตอบโดยใช้ปัจจัยยกย่องได้เพราะกล่าวถึงคุณปู่ไม่ใช่ตัวเอง
앉으세요.
อัน-จือ-เซ-โย = เชิญนั่งคะ
읽으세요.
อิล-กือ-เซ-โย = กรุณาอ่านคะ
쓰세요.
ซือ-เซ-โย = กรุณาเขียนคะ
มีประโยคคำสั่ง/ แนะนำ/ ขอร้อง แบบสุภาพและเป็นทางการอีกรูปแบบหนึ่งคือ
V.stem (으) 십시오. วิธีใช้และความหมายเหมือนกับปัจจัย 시
쓰다 : 쓰 + 십시오 = 쓰십시오
ซือ-ชิบ-ชี-โอ = เชิญเขียน
여기에 앉으십시오.
ยอ-กี-เอ อัน-จือ-ชิบ-ชี-โอ = กรุณานั่งที่นี่คะ
잠깐만 기다리십시오.
ชัม-กัน-มัน คี-ดา-รี-ชิบ-ชี-โอ = กรุณารอสักครู่คะ
*** จะใช้ 마시세요.( มา-ชี-เซ-โย) หรือ 마시십시오. (มา-ชี-ชิบ-ชี-โอ) ก็ได้ความหมายเดียวกันคือ “เชิญดื่มคะ”
จะไม่กล่าวถึงคนที่มีวัยวุฒิน้อยกว่าตัวเอง และห้ามใช้ในประโยคที่กล่าวถึงตัวเอง
*** การใช้ปัจจัย 시
1.ใช้ในประโยคคำถาม เพื่อแสดงความสุภาพหรือยกย่องผู้ที่เราสนทนาด้วย V+(으) 십니까?
2.ใช้ในประโยคบอกเล่า โดยประโยคบอกเล่าต้องเป็นการกล่าวถึงบุคคลอื่นเพื่อแสดงความยกย่องบุคคลนั้น เช่น คุณย่า, คุณพ่อ, คุณครู ฯลฯ และห้ามใช้กล่าวถึงตัวเอง เพราะเรายกย่องตัวเองไม่ได้ V + (으) 십니다.
3.ใช้ในประโยคคำสั่งแบบสุภาพ แปลว่า “กรุณา” หรือ “เชิญ” เช่น เชิญนั่ง , เชิญอ่าน, กรุณาพูดภาษาเกาหลี ฯลฯ V + (으) 세요. (ใช้ในประโยคคำถาม บอกเล่า และคำสั่งแบบสุภาพ)
วิธีการเติมดูที่การลงท้ายของคำกริยาเหมือนเดิม คือ ตัด 다 ทิ้งถ้าลงท้ายด้วยสระ ให้เติม십니까? / 십니다 / 세요 แต่ถ้าลงท้ายด้วยตัวสะกดให้เติม 으십니까? / 으십니다 / 으세요
A : 어디에 가십니까?
ออ-ดิ-เอ คา-ชิม-นี-ก้า? = ไปไหนหรือคะ
B : 병원에 갑니다.
พยอง-วอ-เน คัม-นิ-ดา = ไปโรงพยาบาล
หมายเหตุ : A ถามด้วยปัจจัย 시 แสดงความยกย่อง B แต่ B เป็นผู้ตอบจะตอบแบบใช้ปัจจัยยกย่องไม่ได้
A : 할아버지가 무엇을 하십나까?
ฮา-รา-บอ-จี-กา มู-ออ-ซึล ฮา-ชิม-นี-ก้า? = คุณปู่ทำอะไรหรือคะ?
B : 할아버지가 신문을 읽으십니다.
ฮา-รา-บอ-จี-กา ชิน-มู-นึล อิล-กือ-ชิม-นี-ดา = คุณปู่อ่านหนังสือพิมพ์
หมายเหตุ : B ตอบโดยใช้ปัจจัยยกย่องได้เพราะกล่าวถึงคุณปู่ไม่ใช่ตัวเอง
앉으세요.
อัน-จือ-เซ-โย = เชิญนั่งคะ
읽으세요.
อิล-กือ-เซ-โย = กรุณาอ่านคะ
쓰세요.
ซือ-เซ-โย = กรุณาเขียนคะ
มีประโยคคำสั่ง/ แนะนำ/ ขอร้อง แบบสุภาพและเป็นทางการอีกรูปแบบหนึ่งคือ
V.stem (으) 십시오. วิธีใช้และความหมายเหมือนกับปัจจัย 시
쓰다 : 쓰 + 십시오 = 쓰십시오
ซือ-ชิบ-ชี-โอ = เชิญเขียน
여기에 앉으십시오.
ยอ-กี-เอ อัน-จือ-ชิบ-ชี-โอ = กรุณานั่งที่นี่คะ
잠깐만 기다리십시오.
ชัม-กัน-มัน คี-ดา-รี-ชิบ-ชี-โอ = กรุณารอสักครู่คะ
*** จะใช้ 마시세요.( มา-ชี-เซ-โย) หรือ 마시십시오. (มา-ชี-ชิบ-ชี-โอ) ก็ได้ความหมายเดียวกันคือ “เชิญดื่มคะ”
คำแสดงอดีตและอนาคต
았/ 었/ 였 คำแสดงอดีต (past tense)
วางไว้ระหว่าง คำกริยา และคำลงท้ายประโยคเพื่อทำคำกริยานั้นให้อยู่ในรูปอดีต
เมื่อคำกริยาลงท้ายด้วยสระ 아/ 오 + 았
가다 --> 가 + 았 + 습니다. = 가았습니다 갔습니다.
เมื่อคำกริยาลงท้ายด้วยสระที่เหลือ + 었
먹다 --> 먹 + 었 + 습니다 = 먹었습니다.
เมื่อคำกริยานั้นลงท้ายด้วย 하다 + 였 = 했
공부하다 --> 공부하 + 였+습니다 = 공부하였습니다 = 공부했습니다.
누구를 만났습니까?
นูกูรึล มันนัซซึมนิก้า = พบใครมาหรือคะ
사진을 찍었습니까?
ซาจีนึล จีก็อซซึมนิก้า = ได้ถ่ายรูปไหมคะ
작년에 해외 여행을 했습니다.
ชังนยอเน แฮเว ยอแฮงึล แฮทซึมนิดา = ปีที่แล้วได้ไปเที่ยวต่างประเทศ
겠 คำแสดงอนาคต (future tense)
สามารถวางไว้ระหว่างคำกริยาและคำลงท้ายประโยคได้ทันที โดยไม่ต้องคำนึงถึงเรื่องตัวสะกด
เพื่อทำคำกริยานั้นให้อยู่ในรูปอนาคต
นอกจากแสดงอนาคตแล้วยังสามารถใช้แสดงความตั้งใจและการสันนิษฐานของผู้พูดได้อีกด้วย
วิธีการเติม
가다 : 가 + 겠 + 습니다 = 가겠습니다.
먹다 : 먹 + 겠 + 습 니다 = 먹겠습니다.
하다 : 하 + 겠 + 습 니다 = 하겠습니다.
내일 다시 오겠습니다.
แนอิล ทาชี โอเก็ทซึมนิดา = พรุ่งนี้จะมาใหม่
저는 한국 음식을 먹겠습니다.
ชอนึน ฮันกุก อึมชีกึล ม็อกเก็ทซึมนิดา = ฉันจะกินอาหารเกาหลี
오늘 오후에 전화하겠습니다.
โอนึล โอฮูเอ ชอนฮวาฮาเก็ทซึมนิดา = วันนี้ตอนบ่ายจะโทรมา
วางไว้ระหว่าง คำกริยา และคำลงท้ายประโยคเพื่อทำคำกริยานั้นให้อยู่ในรูปอดีต
เมื่อคำกริยาลงท้ายด้วยสระ 아/ 오 + 았
가다 --> 가 + 았 + 습니다. = 가았습니다 갔습니다.
เมื่อคำกริยาลงท้ายด้วยสระที่เหลือ + 었
먹다 --> 먹 + 었 + 습니다 = 먹었습니다.
เมื่อคำกริยานั้นลงท้ายด้วย 하다 + 였 = 했
공부하다 --> 공부하 + 였+습니다 = 공부하였습니다 = 공부했습니다.
누구를 만났습니까?
นูกูรึล มันนัซซึมนิก้า = พบใครมาหรือคะ
사진을 찍었습니까?
ซาจีนึล จีก็อซซึมนิก้า = ได้ถ่ายรูปไหมคะ
작년에 해외 여행을 했습니다.
ชังนยอเน แฮเว ยอแฮงึล แฮทซึมนิดา = ปีที่แล้วได้ไปเที่ยวต่างประเทศ
겠 คำแสดงอนาคต (future tense)
สามารถวางไว้ระหว่างคำกริยาและคำลงท้ายประโยคได้ทันที โดยไม่ต้องคำนึงถึงเรื่องตัวสะกด
เพื่อทำคำกริยานั้นให้อยู่ในรูปอนาคต
นอกจากแสดงอนาคตแล้วยังสามารถใช้แสดงความตั้งใจและการสันนิษฐานของผู้พูดได้อีกด้วย
วิธีการเติม
가다 : 가 + 겠 + 습니다 = 가겠습니다.
먹다 : 먹 + 겠 + 습 니다 = 먹겠습니다.
하다 : 하 + 겠 + 습 니다 = 하겠습니다.
내일 다시 오겠습니다.
แนอิล ทาชี โอเก็ทซึมนิดา = พรุ่งนี้จะมาใหม่
저는 한국 음식을 먹겠습니다.
ชอนึน ฮันกุก อึมชีกึล ม็อกเก็ทซึมนิดา = ฉันจะกินอาหารเกาหลี
오늘 오후에 전화하겠습니다.
โอนึล โอฮูเอ ชอนฮวาฮาเก็ทซึมนิดา = วันนี้ตอนบ่ายจะโทรมา
อาการป่วย และอวัยวะในร่างกาย
ถามอาการเจ็บป่วย ไม่สบายกันบ้างหละกัน
아파요. มาจากคำว่า 아프다 ที่แปลว่า ไม่สบาย, เจ็บ, ปวด
.....................................................................
| โครงสร้างประโยค
| A : 어디가 아파요? ออ-ดิ-กา อา-พ่า-โย๊?
| ถาม : ไม่สบาย,เจ็บ,ปวด ที่ไหน
| B : Noun + 이/가 아파요.
| ตอบ : คำนาม + คำชึ้ประธาน ตามด้วย아파요.
.......................................................................
A : 어디가 아파요? ออ-ดิ-กา อา-พ่า-โย๊?
B : 머리가 아파요. มอ-รี-กา อา-พ่า-โย.
A : 다리가 아파요?
ทา-รี-กา อา-พ่า-โย๊? = เจ็บขาหรือคะ?
B : 아니요, 발이 아파요.
อา-นี-โย, พา-รี อา-พ่า-โย = ไม่คะ เจ็บเท้า
어디가 아프세요?
ออดิกา อาพือเซโย = ไม่สบายตรงไหนหรือคะ
왜, 얼굴이 안 좋아 보여요?
เว, ออลกุรี อัน โชอา โพยอโย๊ะ = ทำไม, หน้าตาดูไม่ดีเลยคะ
무슨 일이지요?
มูซึล อีรีจีโย๊ะ = เป็นอะไรไปหละคะ
빨리 나으세요.
ปัลรี นาอือเซโย = หายไวๆ นะคะ
ส่วนต่างๆในร่างกายของเราเรียกอะไรกันบ้างในภาษาเกาหลี
머리มอรี / หัว
얼굴 ออลกุล / ใบหน้า
볼 พล / แก้ม
광대뼈ควังแดปยอ / โหนกแก้ม
턱ทอก / คาง
관지놀이 ควานจีโนรี / ขมับ
눈 นุน / ตา (แปลว่าหิมะได้ด้วยนะคะ)
눈썹 นุนซ็อบ / คิ้ว
코 โค่ / จมูก
콧구멍คดกูมอง / รูจมูก
인중 อินจุง / ร่องใต้จมูก
귀 ควี / หู
귓볼 ควีดพล / ติ่งหู
입 อิบ / ปาก
목 มก / คอ
어깨 ออแก / ไหล่
팔 พั่ล / แขน
팔뚝 พั่ลตุ๊ก / ต้นแขน
팔꿍치 พั่ลกุงชี่ / ข้อศอก
손 ซน / มือ
손목 ซนมก / ข้อมือ
손등 ซนทึง / หลังมือ
손바닥 ซนบาดัก / หน้ามือ(ฝ่ามือ)
손톱 ซนโท๊บ / เล็บมือ
등 ทึง / หลัง
배 แพ / ท้อง
배꼽 แพกบ / สะดือ
허리 ฮอรี / เอว
엉떵이 อองตองี / ก้น
무릎 มูรึบ / หัวเข่า
다리 ทารี / ขา
허박지 ฮอบักจี / ต้นขา
종아리 ชุงอารี / น่อง
발 พัล / เท้า
발목 พัลมก / ข้อเท้า
복술아 뼈 พกซูราปยอ / ตาตุ่ม
발톱 พัลโท๊บ / เล็บเท้า
폐 เพ / ปอด
간 คัน / ตับ
위 วี / กระเพาะ
장 จัง / ลำไส้
소장 โซจัง / ลำไส้เล็ก
대장 แทจัง / ลำไส้ใหญ่
심장 ชิมจัง / หัวใจ
แล้วค่อยมาเพิ่มเติมโรคต่างๆและอาการของโรคอีกทีนะคะ
รักษาสุขภาพกันด้วยนะคะ ช่วงนี้ฝนตกแทบทุกวันเลย
아파요. มาจากคำว่า 아프다 ที่แปลว่า ไม่สบาย, เจ็บ, ปวด
.....................................................................
| โครงสร้างประโยค
| A : 어디가 아파요? ออ-ดิ-กา อา-พ่า-โย๊?
| ถาม : ไม่สบาย,เจ็บ,ปวด ที่ไหน
| B : Noun + 이/가 아파요.
| ตอบ : คำนาม + คำชึ้ประธาน ตามด้วย아파요.
.......................................................................
A : 어디가 아파요? ออ-ดิ-กา อา-พ่า-โย๊?
B : 머리가 아파요. มอ-รี-กา อา-พ่า-โย.
A : 다리가 아파요?
ทา-รี-กา อา-พ่า-โย๊? = เจ็บขาหรือคะ?
B : 아니요, 발이 아파요.
อา-นี-โย, พา-รี อา-พ่า-โย = ไม่คะ เจ็บเท้า
어디가 아프세요?
ออดิกา อาพือเซโย = ไม่สบายตรงไหนหรือคะ
왜, 얼굴이 안 좋아 보여요?
เว, ออลกุรี อัน โชอา โพยอโย๊ะ = ทำไม, หน้าตาดูไม่ดีเลยคะ
무슨 일이지요?
มูซึล อีรีจีโย๊ะ = เป็นอะไรไปหละคะ
빨리 나으세요.
ปัลรี นาอือเซโย = หายไวๆ นะคะ
ส่วนต่างๆในร่างกายของเราเรียกอะไรกันบ้างในภาษาเกาหลี
머리มอรี / หัว
얼굴 ออลกุล / ใบหน้า
볼 พล / แก้ม
광대뼈ควังแดปยอ / โหนกแก้ม
턱ทอก / คาง
관지놀이 ควานจีโนรี / ขมับ
눈 นุน / ตา (แปลว่าหิมะได้ด้วยนะคะ)
눈썹 นุนซ็อบ / คิ้ว
코 โค่ / จมูก
콧구멍คดกูมอง / รูจมูก
인중 อินจุง / ร่องใต้จมูก
귀 ควี / หู
귓볼 ควีดพล / ติ่งหู
입 อิบ / ปาก
목 มก / คอ
어깨 ออแก / ไหล่
팔 พั่ล / แขน
팔뚝 พั่ลตุ๊ก / ต้นแขน
팔꿍치 พั่ลกุงชี่ / ข้อศอก
손 ซน / มือ
손목 ซนมก / ข้อมือ
손등 ซนทึง / หลังมือ
손바닥 ซนบาดัก / หน้ามือ(ฝ่ามือ)
손톱 ซนโท๊บ / เล็บมือ
등 ทึง / หลัง
배 แพ / ท้อง
배꼽 แพกบ / สะดือ
허리 ฮอรี / เอว
엉떵이 อองตองี / ก้น
무릎 มูรึบ / หัวเข่า
다리 ทารี / ขา
허박지 ฮอบักจี / ต้นขา
종아리 ชุงอารี / น่อง
발 พัล / เท้า
발목 พัลมก / ข้อเท้า
복술아 뼈 พกซูราปยอ / ตาตุ่ม
발톱 พัลโท๊บ / เล็บเท้า
폐 เพ / ปอด
간 คัน / ตับ
위 วี / กระเพาะ
장 จัง / ลำไส้
소장 โซจัง / ลำไส้เล็ก
대장 แทจัง / ลำไส้ใหญ่
심장 ชิมจัง / หัวใจ
แล้วค่อยมาเพิ่มเติมโรคต่างๆและอาการของโรคอีกทีนะคะ
รักษาสุขภาพกันด้วยนะคะ ช่วงนี้ฝนตกแทบทุกวันเลย
การอวยพรและแสดงความยินดี
새해 복많이 받으세요.
แซแฮ บก มานี พาดือเซโย = Happy New Year
즐거운 성탄절 잘 보내세요.
ชึลกออุน ซองทันชอล ชัล โพแนเซโย = Merry Christmas
크리스마스 잘 보내세요.
คือ-รี-ซือ-มา-ซึ ชัล โพแนเซโย = Merry Christmas
생일 축하합니다
แซงอิล ชุคา ฮัมนีดา = สุขสันต์วันเกิด
축하합니다 / 축하해.
ชุคา ฮัมนีดา / ชุคาเฮ = ยินดีด้วย
건강하게 있어요.
คอน กัง ฮา เก อิซอโย = ขอให้สุขภาพแข็งแรง
즐겁게 지내십시오.
ชึลก๊อบเก ชีแน ชิบชีโอ = ขอให้มีความสุข
행복하게 사세요.
แฮงบก ฮาเก ซาเซโย = ขอให้มีความสุข
안녕히 돌아 가십시오.
อันนยองฮี โทรา คาชิบชีโอ = ขอให้เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
편히 가십시오.
พยอนี คาชิบชีโอ = ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ
소심해서 가세요.
โซชิมแฮซอ คาเซโย = ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ
좋은 하루 보내세요.
โชอึน ฮารุ โพแนเซโย = Have a nice day
좋은 하루 되세요.
โชอึน ฮารุ ดเวเซโย = Have a nice day
즐거운 하루 되세요.
ชึล กออุน ฮารุ ดเว เซโย = Have a nice day
즐거운 주말 보내세요.
ชึล กอ อุน ชูมัล โพแนเซโย = Have a nice Weekend
좋은 꿈 꾸세요.
โชอึน กุม กูเซโย = ขอให้นอนหลับฝันดี
잘 자
ชัล จา = นอนหลับฝันดีนะ (เป็นพัลมัน ใช้กับเพื่อน, คนสนิท, คนที่อายุน้อยกว่า)
안녕히 주무세요.
อันนยองฮี ชูมูเซโย = ราตรีสวัสดิ์ (ใช้กับผู้ใหญ่)
행운을 빕니다
แฮงอูนึล พิมนีดา = ขอให้โชคดีนะคะ
행운이 네요.
แฮงอูนี เนโย = ขอให้โชคดีคะ
여행 잘 다녀오세요.
ยอแฮง ชัล ทานอโอเซโย = ขอให้เที่ยวให้สนุก(เดินทางปลอดภัย)
재미있게 놀다와.
เชมีอิซเก นลทาวา = เที่ยวให้สนุกนะ (Have a good time)
화이팅 / 아자
ฮวา อี ติ้ง / อาจา = สู้..สู้
힘내세요.
ฮิม แน เซโย = เข้มแข็งไว้นะ (สู้..สู้)
포기하지마세요.
โพกี ฮาจีมา เซโย = อย่ายอมแพ้
...안부 전해주세요.
...อันบู ชอนแฮ จูเซโย = ฝากความระลึกถึง ... ด้วยคะ
잘 부탁 드립니다
ชัล บูทัก ทือริมนิดา = ฝากตัวด้วยนะคะ
여러가지로 고마웠어요.
ยอรอคาจีโร โคมาว็อดซอโย = ขอบคุณสำหรับทุกสิ่งทุกอย่าง
걱정해줘서 고마워요.
ค๊อกจองแฮ จวอซอ โคมาวอโย = ขอบคุณที่เป็นห่วง
แซแฮ บก มานี พาดือเซโย = Happy New Year
즐거운 성탄절 잘 보내세요.
ชึลกออุน ซองทันชอล ชัล โพแนเซโย = Merry Christmas
크리스마스 잘 보내세요.
คือ-รี-ซือ-มา-ซึ ชัล โพแนเซโย = Merry Christmas
생일 축하합니다
แซงอิล ชุคา ฮัมนีดา = สุขสันต์วันเกิด
축하합니다 / 축하해.
ชุคา ฮัมนีดา / ชุคาเฮ = ยินดีด้วย
건강하게 있어요.
คอน กัง ฮา เก อิซอโย = ขอให้สุขภาพแข็งแรง
즐겁게 지내십시오.
ชึลก๊อบเก ชีแน ชิบชีโอ = ขอให้มีความสุข
행복하게 사세요.
แฮงบก ฮาเก ซาเซโย = ขอให้มีความสุข
안녕히 돌아 가십시오.
อันนยองฮี โทรา คาชิบชีโอ = ขอให้เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
편히 가십시오.
พยอนี คาชิบชีโอ = ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ
소심해서 가세요.
โซชิมแฮซอ คาเซโย = ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ
좋은 하루 보내세요.
โชอึน ฮารุ โพแนเซโย = Have a nice day
좋은 하루 되세요.
โชอึน ฮารุ ดเวเซโย = Have a nice day
즐거운 하루 되세요.
ชึล กออุน ฮารุ ดเว เซโย = Have a nice day
즐거운 주말 보내세요.
ชึล กอ อุน ชูมัล โพแนเซโย = Have a nice Weekend
좋은 꿈 꾸세요.
โชอึน กุม กูเซโย = ขอให้นอนหลับฝันดี
잘 자
ชัล จา = นอนหลับฝันดีนะ (เป็นพัลมัน ใช้กับเพื่อน, คนสนิท, คนที่อายุน้อยกว่า)
안녕히 주무세요.
อันนยองฮี ชูมูเซโย = ราตรีสวัสดิ์ (ใช้กับผู้ใหญ่)
행운을 빕니다
แฮงอูนึล พิมนีดา = ขอให้โชคดีนะคะ
행운이 네요.
แฮงอูนี เนโย = ขอให้โชคดีคะ
여행 잘 다녀오세요.
ยอแฮง ชัล ทานอโอเซโย = ขอให้เที่ยวให้สนุก(เดินทางปลอดภัย)
재미있게 놀다와.
เชมีอิซเก นลทาวา = เที่ยวให้สนุกนะ (Have a good time)
화이팅 / 아자
ฮวา อี ติ้ง / อาจา = สู้..สู้
힘내세요.
ฮิม แน เซโย = เข้มแข็งไว้นะ (สู้..สู้)
포기하지마세요.
โพกี ฮาจีมา เซโย = อย่ายอมแพ้
...안부 전해주세요.
...อันบู ชอนแฮ จูเซโย = ฝากความระลึกถึง ... ด้วยคะ
잘 부탁 드립니다
ชัล บูทัก ทือริมนิดา = ฝากตัวด้วยนะคะ
여러가지로 고마웠어요.
ยอรอคาจีโร โคมาว็อดซอโย = ขอบคุณสำหรับทุกสิ่งทุกอย่าง
걱정해줘서 고마워요.
ค๊อกจองแฮ จวอซอ โคมาวอโย = ขอบคุณที่เป็นห่วง
เกาหลี(ไม่สุภาพ)
*반말
พันมัล ภาษาพูดที่สุภาพน้อยกว่ารูป 아/어/여요(ซึ่งเป็นภาษาพูดที่ไม่เป็นทางการแต่สุภาพในระดับหนึ่ง) ปกติจะใช้กับเพื่อนที่อายุใกล้เคียงกัน, เพื่อนสนิท, คนที่อายุน้อยกว่าหรือฐานะทางสังคมด้อยกว่า, เด็กๆ
รูปแบบการใช้
1.ถ้าตัด 요 จากรูปประโยค 아/어/여요 ก็จะกลายเป็นภาษาพัลมัล เช่น
어제 뭐 했어요? --> 어제 뭐 했어?
ออเจ มวอ เฮทซอโย๊ะ? --> ออเจ มวอ เฮทซอ? = เมื่อวานทำอะไร
어디 가요? --> 어디 가?
ออดิ คาโย๊ะ? --> ออดิ คา? = ไปที่ไหน
오늘 시간이 있어요? --> 오늘 시간이 있어 = วันนี้ว่างไหม
왜요? --> 왜! = ทำไมหรือ
2.이다 เปลี่ยนเป็น 이야 และ 아니다 เปลี่ยนเป็น 아니야
친구예요. --> 친구야
ชิ่นกูเยโย. --> ชิ่นกูยา = เป็นเพื่อนกัน
그 사람이 누구예요? 그 사람이 누구야?
คือ ซารามี นูกูเยโย๊ะ?--> คือ ซารามี นูกูยา? = คนนั้นเป็นใคร
이건 완 책이야? 아니야, 유리 책이야.
อีกอน หวาน แซกียา? อานียา, ยูริ แซกียา = อันนี้หนังสือหวานหรือ? ไม่ใช่, หนังสือยูริ
3.ใช้ในรูปอนาคตเปลี่ยนจากรูป (ㅇ)ㄹ 거예요.เป็น (ㅇ)ㄹ 거야
여기사진을 찍을 거예요. --> 여기사진을 찍을 거야.
ยอกี ซาจีนึล จิกึล กอเยโย. --> ยอกี ซาจีนึล จิกึล กอยา = จะถ่ายรูปตรงนี้
같이여행갈 거예요. --> 같이여행갈 거야.
คาชี่ ยอแฮงคัล กอเยโย --> คาชี่ ยอแฮงคัล กอยา. = จะไปเที่ยวด้วยกัน
4.ตอบ Yes, No
네 --> 어 , 아니요. --> 아니
เน --> ออ, อานีโย --> อานี
5.คำชักชวนในความหมาย “ กันเถอะ” เติม 자 ที่คำกริยา
점심 시간이야. 밥 먹자.
ชอมชิม ชีกานียา. พับม็อกจา = เวลาอาหารกลางวัน. กินข้าวกันเถอะ.
ในทางตรงกันข้ามเป็นการห้าม เติมคำว่า 지마
위험해서저기 가지마세요. --> 위험해서저기 가지마
วีฮอมแฮซอ ชอกี คาจีมาเซโย. / วีฮอมแฮซอ ชอกี คาจีมา = เพราะอันตรายอย่าไปที่นั่นเลย
6.คำสรรพนามก็ต้องเปลี่ยนเหมือนกัน สำหรับผู้พูด
저는 --> 나는 ชอนึน / นานึน = ฉัน (ประธาน)
제가 --> 내가 เชกา / แนกา = ฉัน (ประธาน)
저를 --> 나를 ชอรึล / นารึล = ฉัน (กรรม)
저도 --> 나도 ชอโด / นาโด = ฉันด้วย
저한테 --> 나한테 ชอฮันเท / นาฮันเท = ถึงฉัน, สำหรับฉัน
제 --> 내 เช/ แน = ของฉัน
สำหรับผู้ฟังเหมือนคำที่กล่าวมาแล้วแต่จะเปลี่ยนจาก 나 เป็น 너 และ 내เป็น 네
7.การเรียกชื่อ หลายคนคงคุ้นเคยกันดีแล้ว
เติม 아 สำหรับชื่อที่ลงท้ายด้วยตัวอักษร 지훈아 อ่านว่า ชีฮูนา
เติม 야 สำหรับชื่อที่ลงท้ายด้วยสระ 유리야 อ่านว่า ยูริยา
Remark : อย่าลืมว่าการใช้เหล่านี้ใช้กับคนที่เพิ่งเจอครั้งแรก, ไม่สนิทกัน, ผู้ใหญ่กว่า, เจ้านาย ไม่ได้นะคะ
มิฉะนั้นเราจะกลายเป็นคนหยาบคายไปเลย
พันมัล ภาษาพูดที่สุภาพน้อยกว่ารูป 아/어/여요(ซึ่งเป็นภาษาพูดที่ไม่เป็นทางการแต่สุภาพในระดับหนึ่ง) ปกติจะใช้กับเพื่อนที่อายุใกล้เคียงกัน, เพื่อนสนิท, คนที่อายุน้อยกว่าหรือฐานะทางสังคมด้อยกว่า, เด็กๆ
รูปแบบการใช้
1.ถ้าตัด 요 จากรูปประโยค 아/어/여요 ก็จะกลายเป็นภาษาพัลมัล เช่น
어제 뭐 했어요? --> 어제 뭐 했어?
ออเจ มวอ เฮทซอโย๊ะ? --> ออเจ มวอ เฮทซอ? = เมื่อวานทำอะไร
어디 가요? --> 어디 가?
ออดิ คาโย๊ะ? --> ออดิ คา? = ไปที่ไหน
오늘 시간이 있어요? --> 오늘 시간이 있어 = วันนี้ว่างไหม
왜요? --> 왜! = ทำไมหรือ
2.이다 เปลี่ยนเป็น 이야 และ 아니다 เปลี่ยนเป็น 아니야
친구예요. --> 친구야
ชิ่นกูเยโย. --> ชิ่นกูยา = เป็นเพื่อนกัน
그 사람이 누구예요? 그 사람이 누구야?
คือ ซารามี นูกูเยโย๊ะ?--> คือ ซารามี นูกูยา? = คนนั้นเป็นใคร
이건 완 책이야? 아니야, 유리 책이야.
อีกอน หวาน แซกียา? อานียา, ยูริ แซกียา = อันนี้หนังสือหวานหรือ? ไม่ใช่, หนังสือยูริ
3.ใช้ในรูปอนาคตเปลี่ยนจากรูป (ㅇ)ㄹ 거예요.เป็น (ㅇ)ㄹ 거야
여기사진을 찍을 거예요. --> 여기사진을 찍을 거야.
ยอกี ซาจีนึล จิกึล กอเยโย. --> ยอกี ซาจีนึล จิกึล กอยา = จะถ่ายรูปตรงนี้
같이여행갈 거예요. --> 같이여행갈 거야.
คาชี่ ยอแฮงคัล กอเยโย --> คาชี่ ยอแฮงคัล กอยา. = จะไปเที่ยวด้วยกัน
4.ตอบ Yes, No
네 --> 어 , 아니요. --> 아니
เน --> ออ, อานีโย --> อานี
5.คำชักชวนในความหมาย “ กันเถอะ” เติม 자 ที่คำกริยา
점심 시간이야. 밥 먹자.
ชอมชิม ชีกานียา. พับม็อกจา = เวลาอาหารกลางวัน. กินข้าวกันเถอะ.
ในทางตรงกันข้ามเป็นการห้าม เติมคำว่า 지마
위험해서저기 가지마세요. --> 위험해서저기 가지마
วีฮอมแฮซอ ชอกี คาจีมาเซโย. / วีฮอมแฮซอ ชอกี คาจีมา = เพราะอันตรายอย่าไปที่นั่นเลย
6.คำสรรพนามก็ต้องเปลี่ยนเหมือนกัน สำหรับผู้พูด
저는 --> 나는 ชอนึน / นานึน = ฉัน (ประธาน)
제가 --> 내가 เชกา / แนกา = ฉัน (ประธาน)
저를 --> 나를 ชอรึล / นารึล = ฉัน (กรรม)
저도 --> 나도 ชอโด / นาโด = ฉันด้วย
저한테 --> 나한테 ชอฮันเท / นาฮันเท = ถึงฉัน, สำหรับฉัน
제 --> 내 เช/ แน = ของฉัน
สำหรับผู้ฟังเหมือนคำที่กล่าวมาแล้วแต่จะเปลี่ยนจาก 나 เป็น 너 และ 내เป็น 네
7.การเรียกชื่อ หลายคนคงคุ้นเคยกันดีแล้ว
เติม 아 สำหรับชื่อที่ลงท้ายด้วยตัวอักษร 지훈아 อ่านว่า ชีฮูนา
เติม 야 สำหรับชื่อที่ลงท้ายด้วยสระ 유리야 อ่านว่า ยูริยา
Remark : อย่าลืมว่าการใช้เหล่านี้ใช้กับคนที่เพิ่งเจอครั้งแรก, ไม่สนิทกัน, ผู้ใหญ่กว่า, เจ้านาย ไม่ได้นะคะ
มิฉะนั้นเราจะกลายเป็นคนหยาบคายไปเลย
ไวยกรณ์ 2
การลงท้ายประโยครูป 아/어/여요
ภาษาเกาหลีจะมีการลงท้ายประโยคเพื่อแสดงระดับความสุภาพของภาษาด้วยตามที่ได้กล่าวไว้แล้ว พูดง่ายๆก็คล้ายๆกับการเติมค่ะ/ครับเข้าไปที่ท้ายประโยคในภาษาไทย แต่ก็ไม่เหมือนซะทีเดียวเพราะระดับภาษาของเกาหลีมีค่อนข้างเยอะ จึงมีการลงท้ายประโยคหลากหลายรูปแบบตามไปด้วย อีกทั้งในภาษาเกาหลียังมีการเติมคำช่วยแสดง tense ไว้ที่คำลงท้ายเพื่อแสดง past tense หรือ future tense และยังมีการเติมปัจจัยอื่นๆให้คนเรียนภาษาเกาหลีได้ปวดหัวกันอีกหลายเรื่องค่ะ
การลงท้ายประโยครูปโยนี้เป็นรูปปัจจุบัน ใช้เมื่อต้องการพูดอย่างสุภาพ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการลงท้ายประโยคแบบสุภาพรูปอื่นๆ อย่างเช่น ซึมนีดา (습니다) แล้ว รูปโยถือว่าใช้กันทั่วไปมากกว่าในชีวิตประจำวัน เพราะรูปซึมนีดาจะใช้พูดในลักษณะที่เป็นทางการ (และรูปโยยังสามารถดัดแปลงเป็นพันมัล หรือภาษาที่ใช้พูดกับคนที่สนิทสนมกัน เช่น เพื่อน หรือพูดกับผู้ที่อายุน้อยกว่า
아/어/여요 [Present Tense]
วิธีการ
- ตัด 다 ท้ายคำศัพท์ทิ้ง เช่น 일어나다 -->일어나
- ดูสระในพยางค์สุดท้าย 일어나
1. ถ้าลงท้ายด้วยสระㅏ,ㅗ ให้เติม 아요
นั่ง 앉다 --> 앉+아요 = 앉아요. อัน-จา-โย
มา *오다 --> 오+아요 = 와요. [*ㅗ+ㅏ = ㅘ] วา-โย
ตื่นขึ้น, ลุกขึ้น
*일어나다 --> 일어나+아요 = 일어나요 [*ㅏ+ㅏ = ㅏ]
ดู, มอง, เจอ(ใช้ในประโยคคล้าย see you ในภาษาอังกฤษ) 보다 = 봐요
กลับมา 돌아오다 = 돌아와요 โท-รา-วา-โย
ไม่เป็นไร, ใช้ได้, โอเค 괜찮다 = 괜찮아요 แควน-ช่า-นา-โย
2. ถ้าลงท้ายด้วยสระอื่นๆ นอกเหนือจาก ㅏ,ㅗ ให้เติม 어요.
สนุก * 재미있다 --> 재미있 + 어요 = 재미있어요
กลายเป็น * 되다 --> 되 + 어요 = 되어요/ 돼요
ส่ง * 보내다 --> 보내 + 어요 = 보내요 [ㅐ+ㅓ=ㅐ]
เรียน, เรียนรู้ *배우다 = 배우 + 어요 = 배워요. [ㅜ+ㅓ = ㅝ]
ยืน *서다 = 서 + 어요 = 서요 [ㅓ+ㅓ = ㅓ]
ถ้าลงท้ายด้วยสระ ㅣ เปลี่ยนเป็น สระ ㅕ
ดื่ม * 마시다 --> 마시 + 어요 = 마셔요 [ㅣ+ㅓ=ㅕ]
ถ้าลงท้ายด้วยสระ ㅡ (ไม่มีตัวสะกด) แล้วยังมีสระ ㅏ,ㅗ ข้างหน้า สระㅡ จะเปลี่ยนเป็นสระ ㅏ เช่น 아프다 ตัด 다 แล้วเหลือ아프 ข้างหน้าสระ ㅡ คือสระㅏดังนั้นจึงเปลี่ยนเป็นสระ ㅏ = 아파요.
ถ้าลงท้ายด้วยสระ ㅡ แล้วยังมีสระข้างหน้าที่ไม่ใช่สระ ㅏ,ㅗ จะเป็นสระ 어
기쁘다 --> 기쁘 = 기뻐요.
3. ถ้าลงท้ายด้วย 하 ให้เปลี่ยนเป็น --> 해요.
รัก 사랑하다 = 사랑해요
เรียน 공부하다 = 공부해요
มีความสุข 행복하다 = 행복해요
แข็งแรง 건강하다 = 건강해요
ไม่ชอบ 싫어하다 = 싫어해요
4. กริยาลงท้ายด้วย ㅂ ให้ตัด ㅂ ทิ้งแล้วเติม 워요 ไปเลยคะ
맵다 เมบ-ต้า (เผ็ด) ----> 매워요
고 맙 다 โค-มับ-ต้า (ขอบคุณ) ----> 고 마 워 요.
어 렵 다 ออ-รยอบ-ต้า (ยาก) ----> 어 려워 요.
แต่มีคำยกเว้น 3 คำคือ
입 다 อิบ-ต้า (สวมเสื้อผ้า) ----> 입 어 요.
잡다 ชับ-ต้า (จับ) ----> 잡 아 요.
좁 다 ชุบ-ต้า (แคบ) ----> 좁 아 요.
*** ประโยคบอกเล่าและประโยคคำถามในรูป 아/어/여요 จะหน้าตาเหมือนกันเพียงแค่ใส่เครื่องหมาย . ในประโยคบอกเล่า และเครื่องหมาย ? ในประโยคคำถาม แต่เวลาออกเสียงให้ใช้เสียงสูงใประโยคคำถาม เช่น 가요? คา-โย๊? = ไปไหม
คำกริยาผันรูป 아/어/여요
가다............. ไป ............... 가요
오다............. มา ................ 와요
먹다............. กิน................. 먹어요
하다............. ทำ................. 해요
쓰다............. เขียน.............. 써요
읽다............. อ่าน............... 읽어요
사다............. ซื้อ ............... 사요
보다............. มอง/ดู............ 봐요
싸다............. ถูก................. 싸요
좋다............. ดี................... 좋아요
있다............. มี/อยู่.............. 있어요
없다............. ไม่มี / ไม่อยู่.... 없어요
춥다............. หนาว............. 추워요
덥다............. ร้อน............... 더워요
마시다......... ดื่ม................. 마셔요
일하다......... ทำงาน............ 일해요
만나다......... พบ................ 만나요
비싸다......... แพง............... 비싸요
바쁘다......... ยุ่ง................. 바빠요
맛있다......... อร่อย............. 맛있어요
맛없다......... ไม่อร่อย.......... 맛없어요
귀엽다......... น่ารัก.............. 귀여워요
아프다......... ไม่สบาย/ปวด.. 아파요
공부하다..... เรียน.............. 공부해요
전화하다.... โทรศัพท์......... 전화해요
좋아하다..... ชอบ............... 좋아해요
운동하다..... ออกกำลังกาย.. 운동해요
재미없다..... ไม่สนุก........... 재미없어요
재미있다..... สนุก............... 재미있어요
가르치다..... สอน............... 가르쳐요
배가 고프다… หิว................ 배가 고파요
ภาษาเกาหลีจะมีการลงท้ายประโยคเพื่อแสดงระดับความสุภาพของภาษาด้วยตามที่ได้กล่าวไว้แล้ว พูดง่ายๆก็คล้ายๆกับการเติมค่ะ/ครับเข้าไปที่ท้ายประโยคในภาษาไทย แต่ก็ไม่เหมือนซะทีเดียวเพราะระดับภาษาของเกาหลีมีค่อนข้างเยอะ จึงมีการลงท้ายประโยคหลากหลายรูปแบบตามไปด้วย อีกทั้งในภาษาเกาหลียังมีการเติมคำช่วยแสดง tense ไว้ที่คำลงท้ายเพื่อแสดง past tense หรือ future tense และยังมีการเติมปัจจัยอื่นๆให้คนเรียนภาษาเกาหลีได้ปวดหัวกันอีกหลายเรื่องค่ะ
การลงท้ายประโยครูปโยนี้เป็นรูปปัจจุบัน ใช้เมื่อต้องการพูดอย่างสุภาพ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการลงท้ายประโยคแบบสุภาพรูปอื่นๆ อย่างเช่น ซึมนีดา (습니다) แล้ว รูปโยถือว่าใช้กันทั่วไปมากกว่าในชีวิตประจำวัน เพราะรูปซึมนีดาจะใช้พูดในลักษณะที่เป็นทางการ (และรูปโยยังสามารถดัดแปลงเป็นพันมัล หรือภาษาที่ใช้พูดกับคนที่สนิทสนมกัน เช่น เพื่อน หรือพูดกับผู้ที่อายุน้อยกว่า
아/어/여요 [Present Tense]
วิธีการ
- ตัด 다 ท้ายคำศัพท์ทิ้ง เช่น 일어나다 -->일어나
- ดูสระในพยางค์สุดท้าย 일어나
1. ถ้าลงท้ายด้วยสระㅏ,ㅗ ให้เติม 아요
นั่ง 앉다 --> 앉+아요 = 앉아요. อัน-จา-โย
มา *오다 --> 오+아요 = 와요. [*ㅗ+ㅏ = ㅘ] วา-โย
ตื่นขึ้น, ลุกขึ้น
*일어나다 --> 일어나+아요 = 일어나요 [*ㅏ+ㅏ = ㅏ]
ดู, มอง, เจอ(ใช้ในประโยคคล้าย see you ในภาษาอังกฤษ) 보다 = 봐요
กลับมา 돌아오다 = 돌아와요 โท-รา-วา-โย
ไม่เป็นไร, ใช้ได้, โอเค 괜찮다 = 괜찮아요 แควน-ช่า-นา-โย
2. ถ้าลงท้ายด้วยสระอื่นๆ นอกเหนือจาก ㅏ,ㅗ ให้เติม 어요.
สนุก * 재미있다 --> 재미있 + 어요 = 재미있어요
กลายเป็น * 되다 --> 되 + 어요 = 되어요/ 돼요
ส่ง * 보내다 --> 보내 + 어요 = 보내요 [ㅐ+ㅓ=ㅐ]
เรียน, เรียนรู้ *배우다 = 배우 + 어요 = 배워요. [ㅜ+ㅓ = ㅝ]
ยืน *서다 = 서 + 어요 = 서요 [ㅓ+ㅓ = ㅓ]
ถ้าลงท้ายด้วยสระ ㅣ เปลี่ยนเป็น สระ ㅕ
ดื่ม * 마시다 --> 마시 + 어요 = 마셔요 [ㅣ+ㅓ=ㅕ]
ถ้าลงท้ายด้วยสระ ㅡ (ไม่มีตัวสะกด) แล้วยังมีสระ ㅏ,ㅗ ข้างหน้า สระㅡ จะเปลี่ยนเป็นสระ ㅏ เช่น 아프다 ตัด 다 แล้วเหลือ아프 ข้างหน้าสระ ㅡ คือสระㅏดังนั้นจึงเปลี่ยนเป็นสระ ㅏ = 아파요.
ถ้าลงท้ายด้วยสระ ㅡ แล้วยังมีสระข้างหน้าที่ไม่ใช่สระ ㅏ,ㅗ จะเป็นสระ 어
기쁘다 --> 기쁘 = 기뻐요.
3. ถ้าลงท้ายด้วย 하 ให้เปลี่ยนเป็น --> 해요.
รัก 사랑하다 = 사랑해요
เรียน 공부하다 = 공부해요
มีความสุข 행복하다 = 행복해요
แข็งแรง 건강하다 = 건강해요
ไม่ชอบ 싫어하다 = 싫어해요
4. กริยาลงท้ายด้วย ㅂ ให้ตัด ㅂ ทิ้งแล้วเติม 워요 ไปเลยคะ
맵다 เมบ-ต้า (เผ็ด) ----> 매워요
고 맙 다 โค-มับ-ต้า (ขอบคุณ) ----> 고 마 워 요.
어 렵 다 ออ-รยอบ-ต้า (ยาก) ----> 어 려워 요.
แต่มีคำยกเว้น 3 คำคือ
입 다 อิบ-ต้า (สวมเสื้อผ้า) ----> 입 어 요.
잡다 ชับ-ต้า (จับ) ----> 잡 아 요.
좁 다 ชุบ-ต้า (แคบ) ----> 좁 아 요.
*** ประโยคบอกเล่าและประโยคคำถามในรูป 아/어/여요 จะหน้าตาเหมือนกันเพียงแค่ใส่เครื่องหมาย . ในประโยคบอกเล่า และเครื่องหมาย ? ในประโยคคำถาม แต่เวลาออกเสียงให้ใช้เสียงสูงใประโยคคำถาม เช่น 가요? คา-โย๊? = ไปไหม
คำกริยาผันรูป 아/어/여요
가다............. ไป ............... 가요
오다............. มา ................ 와요
먹다............. กิน................. 먹어요
하다............. ทำ................. 해요
쓰다............. เขียน.............. 써요
읽다............. อ่าน............... 읽어요
사다............. ซื้อ ............... 사요
보다............. มอง/ดู............ 봐요
싸다............. ถูก................. 싸요
좋다............. ดี................... 좋아요
있다............. มี/อยู่.............. 있어요
없다............. ไม่มี / ไม่อยู่.... 없어요
춥다............. หนาว............. 추워요
덥다............. ร้อน............... 더워요
마시다......... ดื่ม................. 마셔요
일하다......... ทำงาน............ 일해요
만나다......... พบ................ 만나요
비싸다......... แพง............... 비싸요
바쁘다......... ยุ่ง................. 바빠요
맛있다......... อร่อย............. 맛있어요
맛없다......... ไม่อร่อย.......... 맛없어요
귀엽다......... น่ารัก.............. 귀여워요
아프다......... ไม่สบาย/ปวด.. 아파요
공부하다..... เรียน.............. 공부해요
전화하다.... โทรศัพท์......... 전화해요
좋아하다..... ชอบ............... 좋아해요
운동하다..... ออกกำลังกาย.. 운동해요
재미없다..... ไม่สนุก........... 재미없어요
재미있다..... สนุก............... 재미있어요
가르치다..... สอน............... 가르쳐요
배가 고프다… หิว................ 배가 고파요
ไวยกรณ์ 1
หลักไวยกรณ์ในภาษาเกาหลี (문법)
ในการพูดภาษาเกาหลีจำเป็นต้องเติมคำลงท้ายประโยคโดยเติมไว้ที่คำกริยา แต่ที่เรียกคำลงท้ายประโยคก็เพราะในโครงสร้างประโยคคำกริยาจะอยู่ในตำแหน่งท้ายสุดของประโยคพอดี ประธาน+ กรรม + กริยา เมื่อเติมคำลงท้ายประโยคด้วยแล้วจะได้โครงสร้างดังนี้
[Subject + Object + Verb + Sentence Ending]
เพื่อแสดงระดับความสุภาพของประโยคและ tense เป็นต้น ดังนั้นการพูดที่ไม่ใส่คำลงท้ายจึงเป็นลักษณะการพูดที่ไม่ค่อยจะสุภาพนัก ยกเว้นกรณีการอุทานสามารถพูดได้เลยโดยไม่ต้องใส่คำลงท้าย เช่น 비싸다 (พี-ซา-ดา) แพงจัง 예쁘다 (เย-ปือ-ดา) สวยจังเลย คำกริยาแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ กริยาการกระทำ เช่น เดิน, กิน, นอน และ กริยาอธิบายสภาพ เช่น สวย, แพง, หนาว เป็นต้น
*** การลงท้ายประโยค รูป (ㅂ) 습니다.
เป็นคำลงท้ายประโยคแบบสุภาพและใช้พูดในลักษณะที่เป็นทางการ แบ่งออกเป็น 2 รูป คือรูปประโยคบอกเล่า และรูปประโยคคำถาม
รูปประโยคบอกเล่า มีวิธีเติมดังนี้
- ขั้นแรกคำกริยา (ส่วนใหญ่จะลงท้ายด้วย 다) ต้องตัด 다 ทิ้งให้เหลือแค่ คำกริยาแท้(รากศัพท์)
- จากนั้นเติมคำลงท้าย โดยดูที่พยางค์สุดท้ายของคำกริยา ถ้าลงท้ายด้วยสระ (ไม่มีตัวสะกด) ให้เติม (ㅂ)니다 โดยวาง ㅂ ในตำแหน่งตัวสะกด แต่ถ้าลงท้ายด้วยตัวสะกดเติม 습니다 ได้เลย
เมื่อคำกริยาลงท้ายด้วยสระ
기다리다 --> 기다리 + ㅂ니다 = 기다립니다.
อ่านว่า คี-ดา-รี-ดา ตัด 다 ทิ้ง เหลือ คี-ดา-รี พยางค์สุดท้ายของคำกริยาลงท้ายด้วยสระให้เติมㅂ ในตำแหน่งตัวสะกด และต่อด้วย 니다 จะได้คำว่า 기다립니다 คี-ดา-ชิม-นี-ดา (เปลี่ยนเสียง บ เป็น ม ตามกฎการออกเสียง) แปลว่า รอ
เมื่อคำกิริยาลงท้ายด้วยตัวสะกด
먹다 --> 먹 + 습니다 = 먹습니다.
รากศัพท์คือ먹다 ตัด 다 ทิ้ง เหลือ먹 พยางค์สุดท้ายลงท้ายด้วยตัวสะกดㄱ ให้เติม습니다 ได้เลยจะได้คำว่า 먹습니다. ม็อก-ซึม-นี-ดา แปลว่า กิน
รูปประโยคคำถามมีวิธีเติมคำลงท้ายเหมือนรูปแบบประโยคบอกเล่า เพียงแต่เปลี่ยนจาก (ㅂ)습니다 เป็น (ㅂ)습니까?
คำกริยาลงท้ายด้วยสระ 가다 --> 가 + ㅂ니까? = 갑니까?
คำกริยาลงท้ายด้วยตัวสะกด 먹다 --> 먹 + 습니까? = 먹습니까?
เช่น
A : 먹습니까? ม็อก-ซึม-นี-ก้า? = กินไหมคะ
B : 네,먹습니다 เน, ม็อก-ซึม-นี-ดา = กินคะ
A: 마십니까? มา-ชิม-นี-ก้า? = ดื่มไหมคะ
B: 아니요, 마십니다. อา-นี-โย , มา-ชิม-นี-ดา = ไม่ ดื่มคะ
네/예 (เน/เย) เป็นการตอบรับ
아니요 / 아니오 อา-นี-โย / อา-นี-โอ เป็นการตอบปฎิเสธ
ในภาษาเกาหลีใช้เครื่อง ? ในประโยคคำถาม และเครื่องหมาย . เมื่อจบประโยคเหมือนภาษาอังกฤษ อย่างคำว่า 안녕하세요? ต้องใส่เครื่องหมาย ? เสมอเพราะมีความหมายที่ถามว่าสบายดีไหมแฝงอยู่ด้วย
คำกริยาที่ผันในรูป (ㅂ) 습니다
คำกริยา ความหมาย (ㅂ)습니까? (ㅂ) 습니다
가다............. ไป ............... 갑니까 ?...............갑니다
오다............. มา ................ 옵니까 ?................옵니다
먹다............. กิน................ 먹습니까 ?.............먹습니다
하다............. ทำ................ 합니까 ?................합니다
쓰다............. เขียน............. 씁니까 ?................씁니다
읽다............. อ่าน............... 읽습니까 ?.............읽습니다
사다............. ซื้อ ............... 삽니까 ?................삽니다
보다............. มอง/ดู........... 붑니까 ?................붑니다
싸다............. ถูก................ 쌉니까 ?................쌉니다
좋다............. ดี.................. 좋습니까 ?.............좋습니다
있다............. มี/อยู่............. 있습니까 ?.............있습니다
없다............. ไม่มี / ไม่อยู่.... 잆습니까 ?.............잆습니다
춥다............. หนาว............. 춥습니까 ?.............춥습니다
덥다............. ร้อน............... 덥습니까 ?.............덥습니다
마시다......... ดื่ม................ 마십니까?..............마십니다
일하다......... ทำงาน........... 일합니까 ?.............일합니다
만나다......... พบ................ 만납니까 ?.............만납니다
비싸다......... แพง.............. 비쌉니까 ?.............비쌉니다
바쁘다......... ยุ่ง................. 바쁩니까 ?.............바쁩니다
맛있다......... อร่อย............. 맛있습니까 ?..........맛있습니다
맛없다......... ไม่อร่อย......... 마없습니까?...........마없습니다
귀엽다......... น่ารัก............. 귀엽습니까 ?..........귀엽습니다
아프다......... ไม่สบาย/ปวด.. 아픕니까 ?.............아픕니다
공부하다..... เรียน.............. 공보합니까 ?...........공보합니다
전화하다.... โทรศัพท์........ 전화합니까 ?............전화합니다
좋아하다.... ชอบ........... 좋아합니까 ?............좋아합니다
운동하다..... ออกกำลังกาย.. 운동합니까 ?............운동합니다
재미없다..... ไม่สนุก.......... 재미없습니까 ?...... ...재미없습니다
재미있다..... สนุก.............. 재미있습니까 ?..........재미있습니다
가르치다..... สอน.............. 가르칩니까 ?.............가르칩니다
배가 고프다 หิว 배가 고픕니까 ?..........배가 고픕니다
ในการพูดภาษาเกาหลีจำเป็นต้องเติมคำลงท้ายประโยคโดยเติมไว้ที่คำกริยา แต่ที่เรียกคำลงท้ายประโยคก็เพราะในโครงสร้างประโยคคำกริยาจะอยู่ในตำแหน่งท้ายสุดของประโยคพอดี ประธาน+ กรรม + กริยา เมื่อเติมคำลงท้ายประโยคด้วยแล้วจะได้โครงสร้างดังนี้
[Subject + Object + Verb + Sentence Ending]
เพื่อแสดงระดับความสุภาพของประโยคและ tense เป็นต้น ดังนั้นการพูดที่ไม่ใส่คำลงท้ายจึงเป็นลักษณะการพูดที่ไม่ค่อยจะสุภาพนัก ยกเว้นกรณีการอุทานสามารถพูดได้เลยโดยไม่ต้องใส่คำลงท้าย เช่น 비싸다 (พี-ซา-ดา) แพงจัง 예쁘다 (เย-ปือ-ดา) สวยจังเลย คำกริยาแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ กริยาการกระทำ เช่น เดิน, กิน, นอน และ กริยาอธิบายสภาพ เช่น สวย, แพง, หนาว เป็นต้น
*** การลงท้ายประโยค รูป (ㅂ) 습니다.
เป็นคำลงท้ายประโยคแบบสุภาพและใช้พูดในลักษณะที่เป็นทางการ แบ่งออกเป็น 2 รูป คือรูปประโยคบอกเล่า และรูปประโยคคำถาม
รูปประโยคบอกเล่า มีวิธีเติมดังนี้
- ขั้นแรกคำกริยา (ส่วนใหญ่จะลงท้ายด้วย 다) ต้องตัด 다 ทิ้งให้เหลือแค่ คำกริยาแท้(รากศัพท์)
- จากนั้นเติมคำลงท้าย โดยดูที่พยางค์สุดท้ายของคำกริยา ถ้าลงท้ายด้วยสระ (ไม่มีตัวสะกด) ให้เติม (ㅂ)니다 โดยวาง ㅂ ในตำแหน่งตัวสะกด แต่ถ้าลงท้ายด้วยตัวสะกดเติม 습니다 ได้เลย
เมื่อคำกริยาลงท้ายด้วยสระ
기다리다 --> 기다리 + ㅂ니다 = 기다립니다.
อ่านว่า คี-ดา-รี-ดา ตัด 다 ทิ้ง เหลือ คี-ดา-รี พยางค์สุดท้ายของคำกริยาลงท้ายด้วยสระให้เติมㅂ ในตำแหน่งตัวสะกด และต่อด้วย 니다 จะได้คำว่า 기다립니다 คี-ดา-ชิม-นี-ดา (เปลี่ยนเสียง บ เป็น ม ตามกฎการออกเสียง) แปลว่า รอ
เมื่อคำกิริยาลงท้ายด้วยตัวสะกด
먹다 --> 먹 + 습니다 = 먹습니다.
รากศัพท์คือ먹다 ตัด 다 ทิ้ง เหลือ먹 พยางค์สุดท้ายลงท้ายด้วยตัวสะกดㄱ ให้เติม습니다 ได้เลยจะได้คำว่า 먹습니다. ม็อก-ซึม-นี-ดา แปลว่า กิน
รูปประโยคคำถามมีวิธีเติมคำลงท้ายเหมือนรูปแบบประโยคบอกเล่า เพียงแต่เปลี่ยนจาก (ㅂ)습니다 เป็น (ㅂ)습니까?
คำกริยาลงท้ายด้วยสระ 가다 --> 가 + ㅂ니까? = 갑니까?
คำกริยาลงท้ายด้วยตัวสะกด 먹다 --> 먹 + 습니까? = 먹습니까?
เช่น
A : 먹습니까? ม็อก-ซึม-นี-ก้า? = กินไหมคะ
B : 네,먹습니다 เน, ม็อก-ซึม-นี-ดา = กินคะ
A: 마십니까? มา-ชิม-นี-ก้า? = ดื่มไหมคะ
B: 아니요, 마십니다. อา-นี-โย , มา-ชิม-นี-ดา = ไม่ ดื่มคะ
네/예 (เน/เย) เป็นการตอบรับ
아니요 / 아니오 อา-นี-โย / อา-นี-โอ เป็นการตอบปฎิเสธ
ในภาษาเกาหลีใช้เครื่อง ? ในประโยคคำถาม และเครื่องหมาย . เมื่อจบประโยคเหมือนภาษาอังกฤษ อย่างคำว่า 안녕하세요? ต้องใส่เครื่องหมาย ? เสมอเพราะมีความหมายที่ถามว่าสบายดีไหมแฝงอยู่ด้วย
คำกริยาที่ผันในรูป (ㅂ) 습니다
คำกริยา ความหมาย (ㅂ)습니까? (ㅂ) 습니다
가다............. ไป ............... 갑니까 ?...............갑니다
오다............. มา ................ 옵니까 ?................옵니다
먹다............. กิน................ 먹습니까 ?.............먹습니다
하다............. ทำ................ 합니까 ?................합니다
쓰다............. เขียน............. 씁니까 ?................씁니다
읽다............. อ่าน............... 읽습니까 ?.............읽습니다
사다............. ซื้อ ............... 삽니까 ?................삽니다
보다............. มอง/ดู........... 붑니까 ?................붑니다
싸다............. ถูก................ 쌉니까 ?................쌉니다
좋다............. ดี.................. 좋습니까 ?.............좋습니다
있다............. มี/อยู่............. 있습니까 ?.............있습니다
없다............. ไม่มี / ไม่อยู่.... 잆습니까 ?.............잆습니다
춥다............. หนาว............. 춥습니까 ?.............춥습니다
덥다............. ร้อน............... 덥습니까 ?.............덥습니다
마시다......... ดื่ม................ 마십니까?..............마십니다
일하다......... ทำงาน........... 일합니까 ?.............일합니다
만나다......... พบ................ 만납니까 ?.............만납니다
비싸다......... แพง.............. 비쌉니까 ?.............비쌉니다
바쁘다......... ยุ่ง................. 바쁩니까 ?.............바쁩니다
맛있다......... อร่อย............. 맛있습니까 ?..........맛있습니다
맛없다......... ไม่อร่อย......... 마없습니까?...........마없습니다
귀엽다......... น่ารัก............. 귀엽습니까 ?..........귀엽습니다
아프다......... ไม่สบาย/ปวด.. 아픕니까 ?.............아픕니다
공부하다..... เรียน.............. 공보합니까 ?...........공보합니다
전화하다.... โทรศัพท์........ 전화합니까 ?............전화합니다
좋아하다.... ชอบ........... 좋아합니까 ?............좋아합니다
운동하다..... ออกกำลังกาย.. 운동합니까 ?............운동합니다
재미없다..... ไม่สนุก.......... 재미없습니까 ?...... ...재미없습니다
재미있다..... สนุก.............. 재미있습니까 ?..........재미있습니다
가르치다..... สอน.............. 가르칩니까 ?.............가르칩니다
배가 고프다 หิว 배가 고픕니까 ?..........배가 고픕니다
สรรพนาม
**คำสรรพนามและคำแสดงความเป็นเจ้าของ
*คำสรรพนาม
บุรษที่ 1 - เอกพจน์ 저 / 나 ชอ/ นา = ผม, ดิฉัน, ฉัน, เค้า, ฯลฯ
- พหูพจน์ 저희(들) / 우리(들) ชอฮี(ดึล) / อูรี(ดึล) = พวกเรา
บุรษที่ 2 - เอกพจน์ 당신 / 너 ทังชิน/ นอ = คุณ, เธอ, แก ฯลฯ
- พหูพจน์ 당신(들) / 너희(들) ทังชิน(ดึล) / นอฮี(ดึล) = พวกคุณ, พวกเธอ
여러분 ยอรอบุน = ท่านทั้งหลาย
บุรษที่ 3 - เอกพจน์ 이분/이사람 อีบุน / อีซารัม = ท่านนี้/ คนนี้ , 그 분/그 사람 คือบุน/ คือซารัม = ท่านนั้น/ คนนั้น,
저분/저사람 ชอบุน/ ชอซารัม = ท่านโน้น/ คนโน้น , 그여자 /그남자 คือยอจา/ คือยอจา = ผู้หญิงคนนั้น/
ผู้ชายคนนั้น, 그대 เธอคนนั้น/หล่อน
- พหูพจน์ เติมคำว่า들 จะกลายเป็นพหูพจน์
* คำแสดงความเป็นเจ้าของ (Possessive pronouns)
- 저 + 의 = 제 ของฉัน (บุรุษที่ 1) สุภาพ
- 나 + 의 = 내 ของฉัน (บุรุษที่ 1) สุภาพน้อยกว่า 제
- 너 + 의 = 니 ของเธอ (บุรุษที่ 2) สุภาพน้อย
- 저희 + 의 = 저희 / 저희(의) ของพวกเรา (บุรุษที่ 1 - พหูพจน์)
- 우리 + 의 = 우리/ 우리의 ของพวกเรา (บุรษที่ 1 – พหูพจน์) สุภาพน้อยกว่า저희
- 너희 + 의 = 너희/ 너희(의) ของพวกเธอ (บุรุษที่ 2 – พหูพจน์)
*คำสรรพนาม
บุรษที่ 1 - เอกพจน์ 저 / 나 ชอ/ นา = ผม, ดิฉัน, ฉัน, เค้า, ฯลฯ
- พหูพจน์ 저희(들) / 우리(들) ชอฮี(ดึล) / อูรี(ดึล) = พวกเรา
บุรษที่ 2 - เอกพจน์ 당신 / 너 ทังชิน/ นอ = คุณ, เธอ, แก ฯลฯ
- พหูพจน์ 당신(들) / 너희(들) ทังชิน(ดึล) / นอฮี(ดึล) = พวกคุณ, พวกเธอ
여러분 ยอรอบุน = ท่านทั้งหลาย
บุรษที่ 3 - เอกพจน์ 이분/이사람 อีบุน / อีซารัม = ท่านนี้/ คนนี้ , 그 분/그 사람 คือบุน/ คือซารัม = ท่านนั้น/ คนนั้น,
저분/저사람 ชอบุน/ ชอซารัม = ท่านโน้น/ คนโน้น , 그여자 /그남자 คือยอจา/ คือยอจา = ผู้หญิงคนนั้น/
ผู้ชายคนนั้น, 그대 เธอคนนั้น/หล่อน
- พหูพจน์ เติมคำว่า들 จะกลายเป็นพหูพจน์
* คำแสดงความเป็นเจ้าของ (Possessive pronouns)
- 저 + 의 = 제 ของฉัน (บุรุษที่ 1) สุภาพ
- 나 + 의 = 내 ของฉัน (บุรุษที่ 1) สุภาพน้อยกว่า 제
- 너 + 의 = 니 ของเธอ (บุรุษที่ 2) สุภาพน้อย
- 저희 + 의 = 저희 / 저희(의) ของพวกเรา (บุรุษที่ 1 - พหูพจน์)
- 우리 + 의 = 우리/ 우리의 ของพวกเรา (บุรษที่ 1 – พหูพจน์) สุภาพน้อยกว่า저희
- 너희 + 의 = 너희/ 너희(의) ของพวกเธอ (บุรุษที่ 2 – พหูพจน์)
ตัวเลข เวลา และวันที่
ในภาษาเกาหลีจะมีการใช้ทั้งตัวเลขที่มาจากภาษาเกาหลี และคำยืมมาจากภาษาจีนค่ะ
แบบเกาหลีแท้ ใช้กับลักษณนาม (บางตัว) , เวลา (อันนี้เฉพาะที่เป็นชั่วโมงเท่านั้น) , อายุ
แบบคำยืมจากภาษาจีน
ใช้กับลักษณนาม (บางตัว) , เวลา (ที่เป็นนาที) , วัน เดือน ปี , สกุลเงิน
(เฮ้อ!! มีหลายแบบให้คนเรียนปวดหัว ซะงั้น) 555 จนป่านนี้ดิช้านยังสับสนกับตัวเลขอยู่เลย _ _"
คำยืมจากภาษาจีน (Sino-Korean)
0 = 영 (ยอง)
1 = 일 (อิล)
2 = 이 (อี)
3 = 삼 (ซัม)
4 = 사 (ซา)
5 = 오 (โอ)
6 = 육 (ยุก)
7 = 칠 (ชิล)
8 = 팔 (พัล)
9 = 구 (คู)
10 = 십 (ชิบ)
11 = 십일 (ชิ-บิล)
12 = 십이 (ชิ-บี)
13 = 십삼 (ชิบ-ซัม)
.
.
.
20 = 이십 (อี-ชิบ)
30 = 삼십 (ซัม-ชิบ)
40 = 사십 (ซา-ชิบ)
50 = 오십 (โอ-ชิบ)
60 = 육십 (ยุก-ชิบ)
70 = 칠십 (ชิล-ชิบ)
80 = 팔십 (พัล-ชิบ)
90 = 구십 (คู-ชิบ)
100 = 백 (แพก)
1,000 = 천 (ชอน)
10,000 = 만 (มัน)
100,000 = 십만 (ชิม-มัน)
1,000,000 = 백만 (แพง-มัน)
10,000,000 = 천만 (ชอน-มัน)
100,000,000 = 억 (ออก
แบบเกาหลีแท้
0 = 공 (คง)
1 = 하나 (ฮา-นา) / 한
2 = 둘 (ดุล) / 두
3 = 셋 (เซส) / 세
4 = 넸 (เนส) / 네
5 = 다섯 (ทา-ซอส)
6 = 여섯 (ยอ-ซอส)
7 = 일곱 (อิล-กบ)
8 = 여덟 (ยอ-ดอล)
9 = 아홉 (อา-โฮบ)
10 = 열 (ยอล)
11 = 열 하나 (ยอล ฮา-นา)
12 = 열 둘 (ยอล ดุล)
13 = 열셋 (ยอล เซส)
.
.
.
20 = 스물 (ซือ-มุล)
30 = 서른 (ซอ-รึน)
40 = 마흔 (มา-ฮึน)
50 = 쉰 (ชวีน)
60 = 예순 (เย-ซุน)
70 = 일흔 (อิล-ฮึน)
80 = 여든 (ยอ-ดึน)
90 = 아흔 (อา-ฮึน)
100 = 백 (แพก)
1,000 = 천 (ชอน)
10,000 = 만 (มัน)
100,000 = 십만 (ชิม-มัน)
1,000,000 = 백만 (แพง-มัน)
10,000,000 = 천만 (ชอน-มัน)
100,000,000 = 억 (ออก)
แบบเกาหลีแท้
ใช้กับลักษณะนาม (บางตัว) , เวลา (อันนี้เฉพาะที่เป็นชั่วโมงเท่านั้น) , อายุ เช่น
언니가 커피를 두 잔 마십니다.(ออน-นี-กา คอ-พี-รึล ทู จัน มา-ชิม-นิ-ดา) พี่สาวดื่มกาแฟ 2 ถ้วย
오전 10시 45분 = 오전 열시 사십오분 (โอ-จอน ยอล-ชี ซา-ชิ-โบ-บุน) ก่อนเที่ยง 10.45น.
저는 나이가 서른 살 입니다 (ชอ -นึน ซอ-รึน-ซา-ริม-นี-ดา) ฉัน อายุ 30 ปี
หมายเหตุ ตัวเลขแบบเกาหลี 4 ตัว ได้แก่ 1 2 3 4 เมื่อใช้คู่กับลักษณนาม จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปจาก
하나 , 둘 , 셋 , 넷 เป็น 한 , 두 , 세 , 네 ตามลำดับ
แบบคำยืมจากภาษาจีน
ใช้กับลักษณนาม (บางตัว) , เวลา (ที่เป็นนาที) , วัน เดือน ปี , สกุลเงิน, ราคาสินค้า, เบอร์รถเมล์, เบอร์โทรศัพท์ เช่น
2010년 8월 10일 = 이천십년 팔월 십일(อี ช่อน-ชิม-นยอน พัล-วอล ชี-บิล)
100원 = 백원 (เบ-กวอน)
ลักษณนาม แบบเกาหลีแท้
개 (เก) อัน
병 (บยอง) ขวด
장 (จัง) แผ่น
잔 (จัน) ถ้วย
마리 (มา-รี) ตัว
그릇 (คือ-รึด) จาน
사람 (ซา-รัม) คน
분 (บุน) ท่าน (สุภาพ)
명 (มยอง) คน
시간 (ชิ-กัน) ชั่วโมง
시 (ชิ) โมง
달 (ดัล) เดือน
살 (ซัล) ขวบ (อายุ)
번 (บอน) ครั้ง
송이 (ซง-งี) ดอก (ดอกไม้)
대 (เด) เครื่อง
자루 (จา-รุ) แท่ง
벌 (บอล) ชุด
짝 (จัก) ข้าง (เช่น ถุงเท้า 1 ข้าง)
켤레 (คยอล-เล) คู่
권 (ควอน) เล่ม
갑 (คับ) ซอง (บุหรี่) , กล่องเล็กๆ
봉지 (บง-จี) ถุง (ถุงพลาสติก)
줄 (จุล) บรรทัด
ลักษณนาม แบบคำยืมจากภาษาจีน
분 (บุน) นาที อย่าสับสนกับลักษณนามอีกตัวนะ (ที่แปลว่า ท่าน) เพราะอ่านออกเสียงเหมือนกัน
일 (อิล) วัน
월 (วอน) เดือน
년 (นยอน) ปี
개월 (เก-วอน) เดือน
원 (วอน) เงินวอนของเกาหลี
층 (ชึง) ชั้น
페이지 (เพ-อี-จี) หน้า (Page)
쪽 (จก) หน้า (ใช้ได้เหมือนกัน)
번 (บอน) ข้อ (1,2,3)
호실 (โฮ-ชิล) ห้อง
회 (ฮเว) ครั้งที่
주년 (จุ-นยอน) รอบปี
มารู้จักวัน-เดือน ในภาษาเกาหลีกันว่าเขาเรียกว่าอะไรกันบ้าง
요일 = วัน
일요일 (อี-รโย-อิล) = วันอาทิตย์
월요일 (วอ-รโย-อิล) = วันจันทร์
화요일 (ฮวา-โย-อิล) = วันอังคาร
수요일 (ซู-โย-อิล) = วันพุธ
목요일 (โม-คโย-อิล) = วันพฤหัส
금요일 (คือ-มโย-อิล) = วันศุกร์
토요일 (โท่-โย-อิล) = วันเสาร์
오늘 โอ-นึล = วันนี้ / 어제 ออ-เจ = เมื่อวาน / 내일 แน-อิล = พรุ่งนี้
에, 에서 เป็นคำช่วยชี้สถานที่ 에 ยังเป็นคำช่วยในการชี้วันและเวลาอีกด้วยแสดงความหมายเหมือน at, on ในภาษาอังกฤษ เช่น
오후에 친구를 만나요.
โอ-ฮู-เอ ชิ่น-กู-รึล มัน-นา-โย = พบเพื่อนในตอนบ่าย
토요일에도 회사에 갑니까?
โท่-โย-อิ-เร-โด ฮเว-ซา-เอ คัม-นิ-ก้า? = วันเสาร์ก็ไปทำงานด้วยหรือคะ
여덟 시에 학교에 갑니다.
ยอ-ดอล ชี-เอ ฮัก-กโย-เอ คัม-นิ-ดา. = ไปโรงเรียนตอน 8 โมง
월 (วอล) เดือน
일월 (อี-รอล) = มกราคม
이월 (อี-วอล) = กุมภาพันธ์
삼월 (ซา-มอล) = มีนาคม
사월 (ซา-วอล) = เมษายน
오월 (โอ-วอล) = พฤษภาคม
유월 (ยู-วอล) = มิถุนายน
칠월 (ชี-รอล) = กรกฎาคม
팔월 (พา-รอล) = สิงหาคม
구월 (กู-วอล) = กันยายน
시월 (ชี-วอล) = ตุลาคม
십일월 (ชี-บี-รอล) = พฤศจิกายน
십이월 (ชี-บี-วอล) = ธันวาคม
เดือนในภาษาเกาหลีจำง่ายๆคือ จำเลข 1-12 (แบบจีน)ให้ได้แล้วเติมคำว่าเดือน (월) เข้าไปแล้วอ่านโดยกฎการโยงเสียง
ยกเว้นเดือน 6 และ 10 ตัวสะกดจะหายไป
แบบเกาหลีแท้ ใช้กับลักษณนาม (บางตัว) , เวลา (อันนี้เฉพาะที่เป็นชั่วโมงเท่านั้น) , อายุ
แบบคำยืมจากภาษาจีน
ใช้กับลักษณนาม (บางตัว) , เวลา (ที่เป็นนาที) , วัน เดือน ปี , สกุลเงิน
(เฮ้อ!! มีหลายแบบให้คนเรียนปวดหัว ซะงั้น) 555 จนป่านนี้ดิช้านยังสับสนกับตัวเลขอยู่เลย _ _"
คำยืมจากภาษาจีน (Sino-Korean)
0 = 영 (ยอง)
1 = 일 (อิล)
2 = 이 (อี)
3 = 삼 (ซัม)
4 = 사 (ซา)
5 = 오 (โอ)
6 = 육 (ยุก)
7 = 칠 (ชิล)
8 = 팔 (พัล)
9 = 구 (คู)
10 = 십 (ชิบ)
11 = 십일 (ชิ-บิล)
12 = 십이 (ชิ-บี)
13 = 십삼 (ชิบ-ซัม)
.
.
.
20 = 이십 (อี-ชิบ)
30 = 삼십 (ซัม-ชิบ)
40 = 사십 (ซา-ชิบ)
50 = 오십 (โอ-ชิบ)
60 = 육십 (ยุก-ชิบ)
70 = 칠십 (ชิล-ชิบ)
80 = 팔십 (พัล-ชิบ)
90 = 구십 (คู-ชิบ)
100 = 백 (แพก)
1,000 = 천 (ชอน)
10,000 = 만 (มัน)
100,000 = 십만 (ชิม-มัน)
1,000,000 = 백만 (แพง-มัน)
10,000,000 = 천만 (ชอน-มัน)
100,000,000 = 억 (ออก
แบบเกาหลีแท้
0 = 공 (คง)
1 = 하나 (ฮา-นา) / 한
2 = 둘 (ดุล) / 두
3 = 셋 (เซส) / 세
4 = 넸 (เนส) / 네
5 = 다섯 (ทา-ซอส)
6 = 여섯 (ยอ-ซอส)
7 = 일곱 (อิล-กบ)
8 = 여덟 (ยอ-ดอล)
9 = 아홉 (อา-โฮบ)
10 = 열 (ยอล)
11 = 열 하나 (ยอล ฮา-นา)
12 = 열 둘 (ยอล ดุล)
13 = 열셋 (ยอล เซส)
.
.
.
20 = 스물 (ซือ-มุล)
30 = 서른 (ซอ-รึน)
40 = 마흔 (มา-ฮึน)
50 = 쉰 (ชวีน)
60 = 예순 (เย-ซุน)
70 = 일흔 (อิล-ฮึน)
80 = 여든 (ยอ-ดึน)
90 = 아흔 (อา-ฮึน)
100 = 백 (แพก)
1,000 = 천 (ชอน)
10,000 = 만 (มัน)
100,000 = 십만 (ชิม-มัน)
1,000,000 = 백만 (แพง-มัน)
10,000,000 = 천만 (ชอน-มัน)
100,000,000 = 억 (ออก)
แบบเกาหลีแท้
ใช้กับลักษณะนาม (บางตัว) , เวลา (อันนี้เฉพาะที่เป็นชั่วโมงเท่านั้น) , อายุ เช่น
언니가 커피를 두 잔 마십니다.(ออน-นี-กา คอ-พี-รึล ทู จัน มา-ชิม-นิ-ดา) พี่สาวดื่มกาแฟ 2 ถ้วย
오전 10시 45분 = 오전 열시 사십오분 (โอ-จอน ยอล-ชี ซา-ชิ-โบ-บุน) ก่อนเที่ยง 10.45น.
저는 나이가 서른 살 입니다 (ชอ -นึน ซอ-รึน-ซา-ริม-นี-ดา) ฉัน อายุ 30 ปี
หมายเหตุ ตัวเลขแบบเกาหลี 4 ตัว ได้แก่ 1 2 3 4 เมื่อใช้คู่กับลักษณนาม จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปจาก
하나 , 둘 , 셋 , 넷 เป็น 한 , 두 , 세 , 네 ตามลำดับ
แบบคำยืมจากภาษาจีน
ใช้กับลักษณนาม (บางตัว) , เวลา (ที่เป็นนาที) , วัน เดือน ปี , สกุลเงิน, ราคาสินค้า, เบอร์รถเมล์, เบอร์โทรศัพท์ เช่น
2010년 8월 10일 = 이천십년 팔월 십일(อี ช่อน-ชิม-นยอน พัล-วอล ชี-บิล)
100원 = 백원 (เบ-กวอน)
ลักษณนาม แบบเกาหลีแท้
개 (เก) อัน
병 (บยอง) ขวด
장 (จัง) แผ่น
잔 (จัน) ถ้วย
마리 (มา-รี) ตัว
그릇 (คือ-รึด) จาน
사람 (ซา-รัม) คน
분 (บุน) ท่าน (สุภาพ)
명 (มยอง) คน
시간 (ชิ-กัน) ชั่วโมง
시 (ชิ) โมง
달 (ดัล) เดือน
살 (ซัล) ขวบ (อายุ)
번 (บอน) ครั้ง
송이 (ซง-งี) ดอก (ดอกไม้)
대 (เด) เครื่อง
자루 (จา-รุ) แท่ง
벌 (บอล) ชุด
짝 (จัก) ข้าง (เช่น ถุงเท้า 1 ข้าง)
켤레 (คยอล-เล) คู่
권 (ควอน) เล่ม
갑 (คับ) ซอง (บุหรี่) , กล่องเล็กๆ
봉지 (บง-จี) ถุง (ถุงพลาสติก)
줄 (จุล) บรรทัด
ลักษณนาม แบบคำยืมจากภาษาจีน
분 (บุน) นาที อย่าสับสนกับลักษณนามอีกตัวนะ (ที่แปลว่า ท่าน) เพราะอ่านออกเสียงเหมือนกัน
일 (อิล) วัน
월 (วอน) เดือน
년 (นยอน) ปี
개월 (เก-วอน) เดือน
원 (วอน) เงินวอนของเกาหลี
층 (ชึง) ชั้น
페이지 (เพ-อี-จี) หน้า (Page)
쪽 (จก) หน้า (ใช้ได้เหมือนกัน)
번 (บอน) ข้อ (1,2,3)
호실 (โฮ-ชิล) ห้อง
회 (ฮเว) ครั้งที่
주년 (จุ-นยอน) รอบปี
มารู้จักวัน-เดือน ในภาษาเกาหลีกันว่าเขาเรียกว่าอะไรกันบ้าง
요일 = วัน
일요일 (อี-รโย-อิล) = วันอาทิตย์
월요일 (วอ-รโย-อิล) = วันจันทร์
화요일 (ฮวา-โย-อิล) = วันอังคาร
수요일 (ซู-โย-อิล) = วันพุธ
목요일 (โม-คโย-อิล) = วันพฤหัส
금요일 (คือ-มโย-อิล) = วันศุกร์
토요일 (โท่-โย-อิล) = วันเสาร์
오늘 โอ-นึล = วันนี้ / 어제 ออ-เจ = เมื่อวาน / 내일 แน-อิล = พรุ่งนี้
에, 에서 เป็นคำช่วยชี้สถานที่ 에 ยังเป็นคำช่วยในการชี้วันและเวลาอีกด้วยแสดงความหมายเหมือน at, on ในภาษาอังกฤษ เช่น
오후에 친구를 만나요.
โอ-ฮู-เอ ชิ่น-กู-รึล มัน-นา-โย = พบเพื่อนในตอนบ่าย
토요일에도 회사에 갑니까?
โท่-โย-อิ-เร-โด ฮเว-ซา-เอ คัม-นิ-ก้า? = วันเสาร์ก็ไปทำงานด้วยหรือคะ
여덟 시에 학교에 갑니다.
ยอ-ดอล ชี-เอ ฮัก-กโย-เอ คัม-นิ-ดา. = ไปโรงเรียนตอน 8 โมง
월 (วอล) เดือน
일월 (อี-รอล) = มกราคม
이월 (อี-วอล) = กุมภาพันธ์
삼월 (ซา-มอล) = มีนาคม
사월 (ซา-วอล) = เมษายน
오월 (โอ-วอล) = พฤษภาคม
유월 (ยู-วอล) = มิถุนายน
칠월 (ชี-รอล) = กรกฎาคม
팔월 (พา-รอล) = สิงหาคม
구월 (กู-วอล) = กันยายน
시월 (ชี-วอล) = ตุลาคม
십일월 (ชี-บี-รอล) = พฤศจิกายน
십이월 (ชี-บี-วอล) = ธันวาคม
เดือนในภาษาเกาหลีจำง่ายๆคือ จำเลข 1-12 (แบบจีน)ให้ได้แล้วเติมคำว่าเดือน (월) เข้าไปแล้วอ่านโดยกฎการโยงเสียง
ยกเว้นเดือน 6 และ 10 ตัวสะกดจะหายไป
กฏการออกเสียง
การโยงเสียง
อันนี้สำคัญที่สุดเลยค่ะ เพราะเมื่อใดที่พูดภาษาเกาหลีก็ต้องใช้กฎนี้ตลอดเวลาเลยค่ะจึงจำเป็นต้องฝึกให้คล่อง
ไม่อย่างนั้นการออกเสียงจะเพี้ยนมากๆ การโยงเสียงมีอยู่ด้วยกัน 3 แบบนะคะ
1. เมื่อพยางค์ที่ลงท้ายด้วยตัวสะกดเดี่ยวตามหลังด้วยพยัญชนะต้นㅇ(อีอึง) ให้โยงตัวสะกดขึ้นไปแทนที่ㅇ
แล้วอ่านออกเสียงดังต่อไปนี้ 한국어 ฮัน-กุก-ออ อ่านว่า 한구거 ฮัน-กู-กอ
웃음 อุด-อึม อ่านว่า 웃음 อู-ซึม
***ตัวสะกดที่โยงขึ้นไปแทนที่ ㅇ นั้นจะทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นค่ะ
เช่น 웃 อ่านว่า อุด ㅅ ออกเสียง ด เพราะอยู่แม่กด แต่พอโยงขึ้นไปแทนอีอึง 웃음 --> 우슴 ให้อ่านว่าซึม ออกเสียง ซ ค่ะ
2. เมื่อพยางค์ที่ลงท้ายด้วยตัวสะกดประสมตามหลังด้วยพยัญชนะต้นㅇ (อีอึง) ให้โยงตัวสะกดตัวที่ 2 ขึ้นไปแทนที่อีอึง
แล้วอ่านออกเสียงดังต่อไปนี้
앉아요 อัน-อา-โย อ่านว่า 안자요 อัน-จา-โย
읽어요 อิก-ออ-โย อ่านว่า 일거요 อิล-กอ-โย
***ไม่ต้องกังวลว่าตัวสะกดสองตัวนั้นจะอยู่แม่อะไร ให้แยกตัวสะกดตัวที่สองออกแล้วโยงขึ้นไปแทนอีอึงㅇโดยตัวสะกดตัวแรก
ที่เหลืออยู่สะกดตามแม่เสียงของมัน ส่วนตัวสะกดตัวที่สองที่โยงขึ้นไปให้ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นแทน ㅇ เช่น
읽어요 (อิก-ออ-โย) --> 일거요 (อิล-กอ-โย)
3. เมื่อพยางค์ที่ลงท้ายด้วยตัวสะกดรูปฮีอึด :ㅎ และตามหลังด้วยพยัญชนะต้นㅇ(อีอึง) ให้ตัดตัวฮีอึดทิ้งแล้วอ่านออกเสียงดังต่อไปนี้
좋아 โชด-อา อ่านว่า 조아 โช -อา
*** ตัดตัวㅎทิ้งแล้วก็ไม่เหลือตัวสะกด ก็เลยอ่านว่า โช-อา
싫어요 ชิล-ออ-โย อ่านว่า 시러요 ชี-รอ-โย
***ตัดตัวㅎทิ้งไปแล้วก็ยังเหลือㄹ อีกตัว ดังนั้นกลายเป็น ㄹ ตามหลังด้วย ㅇ = ตัวสะกดเดี่ยวตามหลังด้วย ㅇ
จึงทำตามกฏแรกคือโยงㄹ ขึ้นไปแทนที่ จึงอ่านว่า ชี-นอ-โย
ลองฝีกอ่านสักหน่อยนะคะ
괜찮아요. ไม่เป็นไร / 맛있어요. อร่อย
먹어요. กิน / 앉으세요. เชิญนั่ง
있어요. มี/ อยู่ / 없어요. ไม่มี/ ไม่อยู่
좋아해요. ชอบ / 집에 ที่บ้าน
많아요. เยอะ/ มีเยอะ / 싫어해요. ไม่ชอบ
กฏการออกเสียงตัวㅎ (ฮีอึด)
1. เมื่อตัวสะกด ㅎ ตามหลังพยัญชนะต้นㅇ(เสียงสระ) ตัวสะกดㅎ ไม่ออกเสียง
좋아 โชด-อา = 조아 โช-อา
많아요 มัน-อา-โย = 마나요 มา-นา-โย
2. เมื่อตัวสะกด ㅎ ตามด้วยพยัญชนะต้น ㄱ,ㄷ / ㅅ,ㅂ,ㅈ (ㅎ +ㄱ,ㄷ ,ㅂ,ㅈ) หรือ
พยัญชนะต้นㄱ,ㄷ / ㅅ,ㅂ,ㅈ ตามด้วยตัวสะกดㅎ (ㄱ,ㄷ,ㅂ,ㅈ + ㅎ) ตัวที่ติดกันจะกลายเป็นเสียงหนัก
ㄱ กลายเป็น ㅋ เช่น 좋고 อ่าน 조코
ㄷ / ㅅ กลายเป็น ㅌ เช่น 많다 อ่าน 만타
ㅂ กลายเป็น ㅍ เช่น 잡히다 อ่าน 자피다
ㅈ กลายเป็น ㅊ เช่น 좋지 อ่าน 조치
3. เมื่อตัวสะกด ㄴ,ㄹ,ㅁ,ㅇ ตามหลังพยัญชนะต้น ㅎ อ่านออกเสียงได้ 2 อย่าง คืออย่างปกติ
หรืออ่านโดยการโยงเสียง ㄴ,ㄹ,ㅁ,ㅇ มาแทนที่ㅎ แต่นิยมไม่โยงเสียงมากกว่า
일하다 อ่านว่า อิล-ฮา-ดา หรือ อี-ลา-ดา
전화 อ่านว่า ชอน-ฮวา หรือ ชอ-นวา
การออกเสียงสระ ㅢ (อึย, อี, เอ)
1.ออกเสียง “อึย” เมื่ออยู่พยางค์แรกของคำ
의사 อ่านว่า อึยซา = หมอ
의자 อ่านว่า อึยจา = เก้าอี้
2.ออกเสียง “อี” เมื่ออยู่ในพยางค์ที่ 2 เป็นต้นไป
수의사 = 수이사 อ่านว่า ซู-อี-ซา = สัตว์แพทย์
หรือผสมอยู่กับพยัญชนะอื่นนอกเหนือㅇอีอึง (โดยไม่ต้องดูว่าอยู่พยางค์ไหน)
유희 = 유히 อ่านว่า ยู-ฮี
꽃무늬 = 꽃무니 อ่านว่า กน-มู-นี
3.ออกเสียง “เอ” เมื่อแสดงความเป็นเจ้าของ
우리의 사랑 = 우리에 사랑 อู-รี-เอ-ซา-รัง = ความรักของเรา
친구의 가방 = 친구에 가방 ชิน-กู-เอ-คา-บัง = กระเป๋าของเพื่อน
การออกเสียงหนัก
ตัวสะกดเดี่ยว
เมื่อตัวสะกดเดี่ยว แม่กก (ㄱ,ㄲ,ㅋ) แม่กด (ㄷ,ㅅ,ㅆ,ㅌ,ㅈ,ㅊ) แม่กบ (ㅂ,ㅍ ) ตามหลังด้วยพยัญชนะต้น ㄱ,ㄷ,ㅂ,ㅅ,ㅈ
เวลาอ่านออกเสียงให้เปลี่ยนเสียงพยัญชนะต้นเหล่านั้นเป็นเสียงพยัญชนะซ้อน ㄲ,ㄸ,ㅃ,ㅆ,ㅉ ตามลำดับ
* ยกเว้นตัวสะกด ㅎ(ในแม่กด) ให้ดูที่กฎการออกเสียงตัว ㅎ)
먹다 ม็อก-ดา --> 먹따 ม็อก-ต้า
학교 ฮัก-กยู --> 학꾜 ฮัก-กยู(เสียงหนัก)
받다 พัด-ดา --> 받따 พัด-ต้า
십분 ชิบ-บุน --> 십뿐 ชิบ-ปุน
옷장 อด-จัว --> 옷짱 อด-จัง (เสียงหนัก)
ตัวสะกดประสม
ตัวสะกดประสมทุกแม่เสียง เมื่อตามหลังด้วยพยัญชนะต้น ให้เปลี่ยนเสียงพยัญชนนะต้นเป็นเสียงพยัญชนะซ้อนให้หมด
(ยกเว้นตัวสะกดประสมที่ลงท้ายด้วยตัว ㅎ ให้ดูที่กฎการออกเสียงตัว ㅎ)
읽다 อิก-ดา --> 익따 อิก-ต้า = อ่าน
앉다 อัน-ดา --> 안따 อัน-ต้า = นั่ง
없다 ออบ-ดา --> 업따 ออบ-ต้า = ไม่มี,ไม่อยู่
넓다 นอล-ดา --> 널따 นอล-ต้า = กว้าง
젊다 ชอม-ดา --> 점따 ชอม-ต้า = ยังหนุ่มสาว
읊다 อึบ-ดา --> 읍따 อึบ-ต้า = ท่องจำ
การกลมกลืนเสียง
เมื่อตัวสะกดแม่กก แม่กด แม่กบ (ㄱ, ㄷ, ㅂ) ตามด้วยพยัญชนะต้น ㄴ, ㅁตัวสะกดแม่กก แม่กด แม่กบ เปลี่ยนเสียงเป็น
แม่กง แม่กน แม่กม ( ㅇ, ㄴ, ㅁ ) ตามลำดับ
ㄱ, ㄷ, ㅂ + ㄴ, ㅁ
! ! !
ㅇ, ㄴ,ㅁ
먹는다 ม็อก-นึน-ดา อ่านว่า 멍는다 ม็อง-นึน- ดา
꼰냄 꽃냄새 ( กด -แนม - แซ) อ่านว่า 꼳냄새 -แนม - แซ)
재미엄는재미없는 (แช - มี - อ็อบ - นึน) อ่านว่า 재미업는 (แช-มี-ออม-นึน)
555 ยากไหมคะ? ยังมีไวยกรณ์อีกเพียบ ทำคนเรียนมึนเชียวหละ
อันนี้สำคัญที่สุดเลยค่ะ เพราะเมื่อใดที่พูดภาษาเกาหลีก็ต้องใช้กฎนี้ตลอดเวลาเลยค่ะจึงจำเป็นต้องฝึกให้คล่อง
ไม่อย่างนั้นการออกเสียงจะเพี้ยนมากๆ การโยงเสียงมีอยู่ด้วยกัน 3 แบบนะคะ
1. เมื่อพยางค์ที่ลงท้ายด้วยตัวสะกดเดี่ยวตามหลังด้วยพยัญชนะต้นㅇ(อีอึง) ให้โยงตัวสะกดขึ้นไปแทนที่ㅇ
แล้วอ่านออกเสียงดังต่อไปนี้ 한국어 ฮัน-กุก-ออ อ่านว่า 한구거 ฮัน-กู-กอ
웃음 อุด-อึม อ่านว่า 웃음 อู-ซึม
***ตัวสะกดที่โยงขึ้นไปแทนที่ ㅇ นั้นจะทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นค่ะ
เช่น 웃 อ่านว่า อุด ㅅ ออกเสียง ด เพราะอยู่แม่กด แต่พอโยงขึ้นไปแทนอีอึง 웃음 --> 우슴 ให้อ่านว่าซึม ออกเสียง ซ ค่ะ
2. เมื่อพยางค์ที่ลงท้ายด้วยตัวสะกดประสมตามหลังด้วยพยัญชนะต้นㅇ (อีอึง) ให้โยงตัวสะกดตัวที่ 2 ขึ้นไปแทนที่อีอึง
แล้วอ่านออกเสียงดังต่อไปนี้
앉아요 อัน-อา-โย อ่านว่า 안자요 อัน-จา-โย
읽어요 อิก-ออ-โย อ่านว่า 일거요 อิล-กอ-โย
***ไม่ต้องกังวลว่าตัวสะกดสองตัวนั้นจะอยู่แม่อะไร ให้แยกตัวสะกดตัวที่สองออกแล้วโยงขึ้นไปแทนอีอึงㅇโดยตัวสะกดตัวแรก
ที่เหลืออยู่สะกดตามแม่เสียงของมัน ส่วนตัวสะกดตัวที่สองที่โยงขึ้นไปให้ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นแทน ㅇ เช่น
읽어요 (อิก-ออ-โย) --> 일거요 (อิล-กอ-โย)
3. เมื่อพยางค์ที่ลงท้ายด้วยตัวสะกดรูปฮีอึด :ㅎ และตามหลังด้วยพยัญชนะต้นㅇ(อีอึง) ให้ตัดตัวฮีอึดทิ้งแล้วอ่านออกเสียงดังต่อไปนี้
좋아 โชด-อา อ่านว่า 조아 โช -อา
*** ตัดตัวㅎทิ้งแล้วก็ไม่เหลือตัวสะกด ก็เลยอ่านว่า โช-อา
싫어요 ชิล-ออ-โย อ่านว่า 시러요 ชี-รอ-โย
***ตัดตัวㅎทิ้งไปแล้วก็ยังเหลือㄹ อีกตัว ดังนั้นกลายเป็น ㄹ ตามหลังด้วย ㅇ = ตัวสะกดเดี่ยวตามหลังด้วย ㅇ
จึงทำตามกฏแรกคือโยงㄹ ขึ้นไปแทนที่ จึงอ่านว่า ชี-นอ-โย
ลองฝีกอ่านสักหน่อยนะคะ
괜찮아요. ไม่เป็นไร / 맛있어요. อร่อย
먹어요. กิน / 앉으세요. เชิญนั่ง
있어요. มี/ อยู่ / 없어요. ไม่มี/ ไม่อยู่
좋아해요. ชอบ / 집에 ที่บ้าน
많아요. เยอะ/ มีเยอะ / 싫어해요. ไม่ชอบ
กฏการออกเสียงตัวㅎ (ฮีอึด)
1. เมื่อตัวสะกด ㅎ ตามหลังพยัญชนะต้นㅇ(เสียงสระ) ตัวสะกดㅎ ไม่ออกเสียง
좋아 โชด-อา = 조아 โช-อา
많아요 มัน-อา-โย = 마나요 มา-นา-โย
2. เมื่อตัวสะกด ㅎ ตามด้วยพยัญชนะต้น ㄱ,ㄷ / ㅅ,ㅂ,ㅈ (ㅎ +ㄱ,ㄷ ,ㅂ,ㅈ) หรือ
พยัญชนะต้นㄱ,ㄷ / ㅅ,ㅂ,ㅈ ตามด้วยตัวสะกดㅎ (ㄱ,ㄷ,ㅂ,ㅈ + ㅎ) ตัวที่ติดกันจะกลายเป็นเสียงหนัก
ㄱ กลายเป็น ㅋ เช่น 좋고 อ่าน 조코
ㄷ / ㅅ กลายเป็น ㅌ เช่น 많다 อ่าน 만타
ㅂ กลายเป็น ㅍ เช่น 잡히다 อ่าน 자피다
ㅈ กลายเป็น ㅊ เช่น 좋지 อ่าน 조치
3. เมื่อตัวสะกด ㄴ,ㄹ,ㅁ,ㅇ ตามหลังพยัญชนะต้น ㅎ อ่านออกเสียงได้ 2 อย่าง คืออย่างปกติ
หรืออ่านโดยการโยงเสียง ㄴ,ㄹ,ㅁ,ㅇ มาแทนที่ㅎ แต่นิยมไม่โยงเสียงมากกว่า
일하다 อ่านว่า อิล-ฮา-ดา หรือ อี-ลา-ดา
전화 อ่านว่า ชอน-ฮวา หรือ ชอ-นวา
การออกเสียงสระ ㅢ (อึย, อี, เอ)
1.ออกเสียง “อึย” เมื่ออยู่พยางค์แรกของคำ
의사 อ่านว่า อึยซา = หมอ
의자 อ่านว่า อึยจา = เก้าอี้
2.ออกเสียง “อี” เมื่ออยู่ในพยางค์ที่ 2 เป็นต้นไป
수의사 = 수이사 อ่านว่า ซู-อี-ซา = สัตว์แพทย์
หรือผสมอยู่กับพยัญชนะอื่นนอกเหนือㅇอีอึง (โดยไม่ต้องดูว่าอยู่พยางค์ไหน)
유희 = 유히 อ่านว่า ยู-ฮี
꽃무늬 = 꽃무니 อ่านว่า กน-มู-นี
3.ออกเสียง “เอ” เมื่อแสดงความเป็นเจ้าของ
우리의 사랑 = 우리에 사랑 อู-รี-เอ-ซา-รัง = ความรักของเรา
친구의 가방 = 친구에 가방 ชิน-กู-เอ-คา-บัง = กระเป๋าของเพื่อน
การออกเสียงหนัก
ตัวสะกดเดี่ยว
เมื่อตัวสะกดเดี่ยว แม่กก (ㄱ,ㄲ,ㅋ) แม่กด (ㄷ,ㅅ,ㅆ,ㅌ,ㅈ,ㅊ) แม่กบ (ㅂ,ㅍ ) ตามหลังด้วยพยัญชนะต้น ㄱ,ㄷ,ㅂ,ㅅ,ㅈ
เวลาอ่านออกเสียงให้เปลี่ยนเสียงพยัญชนะต้นเหล่านั้นเป็นเสียงพยัญชนะซ้อน ㄲ,ㄸ,ㅃ,ㅆ,ㅉ ตามลำดับ
* ยกเว้นตัวสะกด ㅎ(ในแม่กด) ให้ดูที่กฎการออกเสียงตัว ㅎ)
먹다 ม็อก-ดา --> 먹따 ม็อก-ต้า
학교 ฮัก-กยู --> 학꾜 ฮัก-กยู(เสียงหนัก)
받다 พัด-ดา --> 받따 พัด-ต้า
십분 ชิบ-บุน --> 십뿐 ชิบ-ปุน
옷장 อด-จัว --> 옷짱 อด-จัง (เสียงหนัก)
ตัวสะกดประสม
ตัวสะกดประสมทุกแม่เสียง เมื่อตามหลังด้วยพยัญชนะต้น ให้เปลี่ยนเสียงพยัญชนนะต้นเป็นเสียงพยัญชนะซ้อนให้หมด
(ยกเว้นตัวสะกดประสมที่ลงท้ายด้วยตัว ㅎ ให้ดูที่กฎการออกเสียงตัว ㅎ)
읽다 อิก-ดา --> 익따 อิก-ต้า = อ่าน
앉다 อัน-ดา --> 안따 อัน-ต้า = นั่ง
없다 ออบ-ดา --> 업따 ออบ-ต้า = ไม่มี,ไม่อยู่
넓다 นอล-ดา --> 널따 นอล-ต้า = กว้าง
젊다 ชอม-ดา --> 점따 ชอม-ต้า = ยังหนุ่มสาว
읊다 อึบ-ดา --> 읍따 อึบ-ต้า = ท่องจำ
การกลมกลืนเสียง
เมื่อตัวสะกดแม่กก แม่กด แม่กบ (ㄱ, ㄷ, ㅂ) ตามด้วยพยัญชนะต้น ㄴ, ㅁตัวสะกดแม่กก แม่กด แม่กบ เปลี่ยนเสียงเป็น
แม่กง แม่กน แม่กม ( ㅇ, ㄴ, ㅁ ) ตามลำดับ
ㄱ, ㄷ, ㅂ + ㄴ, ㅁ
! ! !
ㅇ, ㄴ,ㅁ
먹는다 ม็อก-นึน-ดา อ่านว่า 멍는다 ม็อง-นึน- ดา
꼰냄 꽃냄새 ( กด -แนม - แซ) อ่านว่า 꼳냄새 -แนม - แซ)
재미엄는재미없는 (แช - มี - อ็อบ - นึน) อ่านว่า 재미업는 (แช-มี-ออม-นึน)
555 ยากไหมคะ? ยังมีไวยกรณ์อีกเพียบ ทำคนเรียนมึนเชียวหละ
ครอบครัว
할아버지 (ฮา-รา-บอ-จี) ปู่ บางครั้งเรียกว่า 할아버님 (ฮา-รา-บอ-นิม) เป็นการยกย่องครับ ถ้าจะแปลก็คือ คุณปู่
할머니 (ฮัล-มอ-นี) ย่า
외할아버지 (เว-ฮา-รา-บอ-จี) ตา
외할머니 (เว-ฮัล-มอ-นี) ยาย
아저씨 (อา-จอ-ชี) ลุง
아주머니 (อา-จุ-มอ-นี) ป้า
삼촌 (ซัม-ชน) อา (น้องชายของพ่อ)
외삼촌 (เว-ซัม-ชน) อา (พี่/น้องชายของแม่)
이모 (อี-โม) น้า (พี่/น้องสาวของแม่)
고모 (โค-โม) ป้า/อา (พี่/น้องสาวของพ่อ)
아버지 (อา-บอ-จี) พ่อ หรือเรียกสั้นๆ ว่า 아빠 (อา-ป้า) เรียกได้แต่พ่อตัวเองเท่านั้น
아머니 (อา-มอ-นี) แม่ หรือเรียกสั้นๆ ว่า 엄마 (ออม-ม่า) เรียกได้แต่แม่ตัวเองเท่านั้น
오빠 (โอ-ปา) พี่ชาย (ผู้หญิงเรียก)
형 (ฮยอง) พี่ชาย (ผู้ชายเรียก)
언니 (ออน-นี) พี่สาว (ผู้หญิงเรียก)
누나 (นู-นา) พี่สาว (ผู้ชายเรียก)
여동생 (ยอ-ดง-เซง) น้องสาว
남동생 (นัม-ดง-เซง) น้องชาย
아들 (อา-ดึล) ลูกชาย
딸 (ตัล) ลูกสาว
할머니 (ฮัล-มอ-นี) ย่า
외할아버지 (เว-ฮา-รา-บอ-จี) ตา
외할머니 (เว-ฮัล-มอ-นี) ยาย
아저씨 (อา-จอ-ชี) ลุง
아주머니 (อา-จุ-มอ-นี) ป้า
삼촌 (ซัม-ชน) อา (น้องชายของพ่อ)
외삼촌 (เว-ซัม-ชน) อา (พี่/น้องชายของแม่)
이모 (อี-โม) น้า (พี่/น้องสาวของแม่)
고모 (โค-โม) ป้า/อา (พี่/น้องสาวของพ่อ)
아버지 (อา-บอ-จี) พ่อ หรือเรียกสั้นๆ ว่า 아빠 (อา-ป้า) เรียกได้แต่พ่อตัวเองเท่านั้น
아머니 (อา-มอ-นี) แม่ หรือเรียกสั้นๆ ว่า 엄마 (ออม-ม่า) เรียกได้แต่แม่ตัวเองเท่านั้น
오빠 (โอ-ปา) พี่ชาย (ผู้หญิงเรียก)
형 (ฮยอง) พี่ชาย (ผู้ชายเรียก)
언니 (ออน-นี) พี่สาว (ผู้หญิงเรียก)
누나 (นู-นา) พี่สาว (ผู้ชายเรียก)
여동생 (ยอ-ดง-เซง) น้องสาว
남동생 (นัม-ดง-เซง) น้องชาย
아들 (อา-ดึล) ลูกชาย
딸 (ตัล) ลูกสาว
การสนทนา
เป็นประโยคที่ได้ยินบ่อยๆในซีรีย์เกาหลี เป็นประโยค
ที่ใช้ในชีวิตประจำวันไม่เป็นทางการ
여보세요? (ยอ-โบ-เซ-โย๊ะ) ฮัลโหล ใช้รับโทรศัทพ์
시간이 있어요? (ชี-กา-นี อิ-ซอ-โย๊ะ) ว่างไหม
약속이 있어요? (ย๊าก-โซ-กี อิ-ซอ-โย๊ะ) มีนัดหรือคะ
뭐 해요? (มวอ-แฮ-โย๊ะ) ทำอะไร
어떻게 해요? (ออ-ตอ-เค แฮ-โย๊ะ) ทำอย่างไร
잠깐만요. (ชัม-กัน-มัน-โย) = เดี๋ยวคะ
천천히 하세요. (ช่อน-ช่อน-ฮี ฮา-เซ-โย) = พูดช้าๆหน่อยคะ
희춘을 알아요? (ฮี-ชู-นึล อา-รา-โย๊ะ) = รู้จักฮีชุลไหม
좋아해요. (โช-อา-แฮ-โย) = ชอบ
싫어해요. (ชี-รอ-แฮ-โย) = ไม่ชอบ
가 요? (คา-โย๊ะ) = ไปไหม
어디에 가요? (ออ-ดิ-เอ คา-โย๊ะ) = ไปที่ไหนคะ
누구하고 가요? (นู-กู-ฮา-โก คา-โย๊ะ) = ไปกับใครคะ
어떻게 가요? (ออ-ตอ-เค คา-โย๊ะ) = ไปอย่างไรคะ
화가나요? (ฮวา-กา-นา-โย๊ะ) = โกรธหรือคะ
밥먹었어요? (พัม-มอ-กอ-ซอ-โย๊ะ) = กินข้าวหรือยัง
많이 먹어. (มา-นี มอ-กอ) = กินเยอะๆนะ
애인 있어요? (แอ-อิน อิ-ซอ-โย๊ะ) = มีแฟนหรือยัง
맞아요. (มา-จา-โย) = ถูกต้องคะ
얼마예요? (ออล-มา-เย-โย๊ะ) = เท่าไหร่คะ
다음 주에 만나요. (ทา-อึม ชู-เอ มัน-นา-โย) = พบกันสัปดาห์หน้า
안녕히 주무세요? = ราตรีสวัสดิ์ (ใช้พูดกับผู้ใหญ่)
잘 자 (ชัล-จา) = ราตรีสวัสวดิ์ / ฝันดีนะ (ผู้กับคนสนิท,เพื่อน,เด็กกว่า)
알았어요? (อา-รา-ซอ-โย๊ะ) = เข้าใจไหมคะ
알았지? (อา-รา-จิ๊) = เข้าใจแล้วใช่ไหม
알았어. (อา-รา-ซอ) = เข้าใจแล้ว
잘 지내요? (ชัล ชี-แน-โย๊ะ) = สบายดีไหม
행복하세요. (แฮง-โบ-คา-เซ-โย) = ขอให้มีความสุข
축하합니다. (ชู-คา-ฮัม-นิ-ดา) = ยินดีด้วยคะ
축하해. (ชู-คา-แฮ) = ยินดีด้วยนะ
왜 (เว) = ทำไม
하자마 (ฮา-จิ-มา) = อย่าทำ
가지마 (คา-จิ-มา) = อย่าไป
잊지마 (อิด-จิ-มา) = อย่าลืม
가자 (คา-จา) = ไปกันเถอะ
먹자 (ม๊อก-จา) = กินกันเถอะ
맛있어? (มา-ชิ-ซ๊อ) = อร่อยมั๊ย
갈게 (คัล-เก) = ไปก่อนนะ
보고싶어요. โพ-โก-ชี-พอ-โย = คิดถึง (อยากเจอ)
생각해요. แซง-กา-แค-โย = คิดถึง (นึกถึง)
정말요? (ชอง-มัล-โย๊ะ) = จริงหรือ
잔짜 (ชิน-จ๊ะ) = จริงหรือ
죽을래? (ชู-กึล-แร) = อยากตายหรือไง (อิ อิ เอาไว้พูดกับเพื่อนเท่านั้น ไม่งั้นอาจตายได้)
내일 보자 (แน-อิล โพ-จา) = เจอกันพรุ่งนี้
หมายเหตุ : คำพูดที่ลงท้ายด้วย 요(โย) จะฟังแล้วสุภาพกว่าครับ
ที่ใช้ในชีวิตประจำวันไม่เป็นทางการ
여보세요? (ยอ-โบ-เซ-โย๊ะ) ฮัลโหล ใช้รับโทรศัทพ์
시간이 있어요? (ชี-กา-นี อิ-ซอ-โย๊ะ) ว่างไหม
약속이 있어요? (ย๊าก-โซ-กี อิ-ซอ-โย๊ะ) มีนัดหรือคะ
뭐 해요? (มวอ-แฮ-โย๊ะ) ทำอะไร
어떻게 해요? (ออ-ตอ-เค แฮ-โย๊ะ) ทำอย่างไร
잠깐만요. (ชัม-กัน-มัน-โย) = เดี๋ยวคะ
천천히 하세요. (ช่อน-ช่อน-ฮี ฮา-เซ-โย) = พูดช้าๆหน่อยคะ
희춘을 알아요? (ฮี-ชู-นึล อา-รา-โย๊ะ) = รู้จักฮีชุลไหม
좋아해요. (โช-อา-แฮ-โย) = ชอบ
싫어해요. (ชี-รอ-แฮ-โย) = ไม่ชอบ
가 요? (คา-โย๊ะ) = ไปไหม
어디에 가요? (ออ-ดิ-เอ คา-โย๊ะ) = ไปที่ไหนคะ
누구하고 가요? (นู-กู-ฮา-โก คา-โย๊ะ) = ไปกับใครคะ
어떻게 가요? (ออ-ตอ-เค คา-โย๊ะ) = ไปอย่างไรคะ
화가나요? (ฮวา-กา-นา-โย๊ะ) = โกรธหรือคะ
밥먹었어요? (พัม-มอ-กอ-ซอ-โย๊ะ) = กินข้าวหรือยัง
많이 먹어. (มา-นี มอ-กอ) = กินเยอะๆนะ
애인 있어요? (แอ-อิน อิ-ซอ-โย๊ะ) = มีแฟนหรือยัง
맞아요. (มา-จา-โย) = ถูกต้องคะ
얼마예요? (ออล-มา-เย-โย๊ะ) = เท่าไหร่คะ
다음 주에 만나요. (ทา-อึม ชู-เอ มัน-นา-โย) = พบกันสัปดาห์หน้า
안녕히 주무세요? = ราตรีสวัสดิ์ (ใช้พูดกับผู้ใหญ่)
잘 자 (ชัล-จา) = ราตรีสวัสวดิ์ / ฝันดีนะ (ผู้กับคนสนิท,เพื่อน,เด็กกว่า)
알았어요? (อา-รา-ซอ-โย๊ะ) = เข้าใจไหมคะ
알았지? (อา-รา-จิ๊) = เข้าใจแล้วใช่ไหม
알았어. (อา-รา-ซอ) = เข้าใจแล้ว
잘 지내요? (ชัล ชี-แน-โย๊ะ) = สบายดีไหม
행복하세요. (แฮง-โบ-คา-เซ-โย) = ขอให้มีความสุข
축하합니다. (ชู-คา-ฮัม-นิ-ดา) = ยินดีด้วยคะ
축하해. (ชู-คา-แฮ) = ยินดีด้วยนะ
왜 (เว) = ทำไม
하자마 (ฮา-จิ-มา) = อย่าทำ
가지마 (คา-จิ-มา) = อย่าไป
잊지마 (อิด-จิ-มา) = อย่าลืม
가자 (คา-จา) = ไปกันเถอะ
먹자 (ม๊อก-จา) = กินกันเถอะ
맛있어? (มา-ชิ-ซ๊อ) = อร่อยมั๊ย
갈게 (คัล-เก) = ไปก่อนนะ
보고싶어요. โพ-โก-ชี-พอ-โย = คิดถึง (อยากเจอ)
생각해요. แซง-กา-แค-โย = คิดถึง (นึกถึง)
정말요? (ชอง-มัล-โย๊ะ) = จริงหรือ
잔짜 (ชิน-จ๊ะ) = จริงหรือ
죽을래? (ชู-กึล-แร) = อยากตายหรือไง (อิ อิ เอาไว้พูดกับเพื่อนเท่านั้น ไม่งั้นอาจตายได้)
내일 보자 (แน-อิล โพ-จา) = เจอกันพรุ่งนี้
หมายเหตุ : คำพูดที่ลงท้ายด้วย 요(โย) จะฟังแล้วสุภาพกว่าครับ
10/15/2559
พยัญชนะ และสระ
พยัญชนะ
ㄱ คียอก* แทนเสียง ค,ก
ㄴ นีอึน แทนเสียง น
ㄷ ทีกึด* แทนเสียง ท,ด
ㄹ รีอึล แทนเสียง ร,ล
ㅁ มีอึม แทนเสียง ม
ㅂ พีอึบ* แทนเสียง พ,บ
ㅅ ชีอด แทนเสียง ซ (ช**)
ㅇ อีอึง ออกเสียงตามเสียงสระ, ง
ㅈ ชีอึด* แทนเสียง ช,จ
ㅊ ชิ่อึด แทนเสียง ช่ (เสียงหนัก)
ㅋ คี่อึค แทนเสียง ค่ (เสียงหนัก)
ㅌ ที่อึท แทนเสียง ท่ (เสียงหนัก)
ㅍ พิอึพ แทนเสียง พ่ (เสียงหนัก)
ㅎ ฮีอึด แทนเสียง ฮ
*หมายเหตุㄱ, ㄷ, ㅂ, ㅈ จะมีสองเสียง เช่น ㄱ = ค,ก แทนเสียง ค เมื่อพยัญชนะ ㄱ อยู่พยางค์แรกของคำ
แทนเสียง ก เมื่อพยัญชนะ ㄱ อยู่พยางค์ที่สองเป็นต้นไป
เช่น 가가 (ㅏ = สระอา ) อ่านว่า คากา
** ออกเสียง ช เมื่อㅅประสมกับสระอีและสระเสียงควบกล้ำ"ย" ㅣ(สระอี),ㅑ(สระยา),ㅕ(สระยอ),ㅛ(สระโย),ㅠ (สระยู)
และเป็นเสียง ช ที่มาจากฐานเสียงบริเวณฟันหน้า
พยัญชนะคู่(ตัวซัง)
รูป คำอ่าน เทียบเสียงพยัญชนะไทย
ㄲ(쌍기역) ก่ เสียงหนัก
ㄸ (쌍디귿) ต
ㅃ (쌍비읍) ป
ㅆ (쌍시옷) ซ่ เสียงหนัก
ㅉ (쌍비읍) จ่ เสียงหนัก
สระ (모음)
สระพื้นฐาน
รูป / เทียบเสียงสระไทย
ㅏ / อา, อะ, อั-
ㅑ / ยา
ㅓ / ออ, เอาะ
ㅕ / ยอ
ㅗ / โอ, โอะ
ㅛ / โย
ㅜ / อู, อุ
ㅠ / ยู
ㅡ / อือ, อึ
ㅣ /อี, อิ
*ภาษาเกาหลีไม่แบ่งเป็นเสียงสระเป็นเสียงสั้นเสียงยาวชัดเจนขึ้นอยู่กับจังหวะในการพูด
สระประสม
รูป เทียบเสียงสระไทย
ㅐ แอ
ㅒ แย
ㅔ เอ
ㅖ เย
ㅘ วา
ㅙ แว
ㅚ เว
ㅝ วอ
ㅞ เว
ㅟ วี
ㅢ อึย,อี, เอ
โครงสร้างคำ (พยัญชนะ + สระ)
1. สระแนวตั้ง ㅏ,ㅑ,ㅓ,ㅕ,ㅣ,ㅐ,ㅒ,ㅔ,ㅖวางไว้ด้านขวาของพยัญชนะ เช่น 가
2. สระแนวนอน ㅗ,ㅛ,ㅜ,ㅠ,ㅡ วางไว้ด้านล่างของพยัญชนะ เช่น 고
3. สระประสมที่เกิดจากสระแนวนอนประสมกับสระแนวตั้ง ㅘ, ㅙ, ㅚ, ㅝ, ㅞ, ㅟ, ㅢ ให้วางตามลำดับ
คือวางสระแนวนอนไว้ใต้พยัญชนะก่อน จากนั้นเขียนตามด้วยสระแนวตั้งที่ด้านขวาของพยัญชนะครับ
ลำดับการเขียน 과 = ㄱ --> 고 --> 과
가 갸 거 겨 고 교 구 규 그 기
คา คยา คอ คยอ โค คโย คู คยู คือ คี
개 걔 게 계 과 괘 괴 궈 궤 귀 긔
แค คแย เค คเย ควา คแว คเว ควอ คเว่ ควี คึย(คี*)
나 냐 너 녀 노 뇨 누 뉴 느 니
นา นยา นอ นยอ โน นโย นู นยู นือ นี
내 냬 네 녜 놔 놰 뇌 눠 눼 뉘 늬
แน นแย เน นเย นวา นแว นเว นวอ นเว่ นวี นึย(นี*)
* เมื่ออ่านตามกฏการออกเสียงจะได้เสียงในวงเล็บ
** เสียงควบกล้ำ ย. เช่น คยา, คโย, นยอ ให้ออกเสียงรวบเป็น 1 พยางค์ โดยออกเสียงให้เร็วที่สุด
เมื่อออกเสียงแล้วไม่ใช่เสียง คะยา คะโย นะยอ ก็ถือว่าผ่านค่ะ วิธีฝึกออกเสียงตัวควบกล้ำ ย. มีอีกวิธี
คือลองรวบเสียงจาก คิยา คิโย นิยอ แต่อย่าลืมว่าให้ออกเสียงเร็วๆ และให้ได้เสียง 1 พยางค์นะคะ
*** ส่วนเสียงควบกล้ำ ว. เช่น 과 화 뭐 ออกเสียงได้ตามปกติเหมือนภาษาไทยได้เลยค่ะ ได้แก่ กวา ฮวา มวอ ตามลำดับ
ㄱ คียอก* แทนเสียง ค,ก
ㄴ นีอึน แทนเสียง น
ㄷ ทีกึด* แทนเสียง ท,ด
ㄹ รีอึล แทนเสียง ร,ล
ㅁ มีอึม แทนเสียง ม
ㅂ พีอึบ* แทนเสียง พ,บ
ㅅ ชีอด แทนเสียง ซ (ช**)
ㅇ อีอึง ออกเสียงตามเสียงสระ, ง
ㅈ ชีอึด* แทนเสียง ช,จ
ㅊ ชิ่อึด แทนเสียง ช่ (เสียงหนัก)
ㅋ คี่อึค แทนเสียง ค่ (เสียงหนัก)
ㅌ ที่อึท แทนเสียง ท่ (เสียงหนัก)
ㅍ พิอึพ แทนเสียง พ่ (เสียงหนัก)
ㅎ ฮีอึด แทนเสียง ฮ
*หมายเหตุㄱ, ㄷ, ㅂ, ㅈ จะมีสองเสียง เช่น ㄱ = ค,ก แทนเสียง ค เมื่อพยัญชนะ ㄱ อยู่พยางค์แรกของคำ
แทนเสียง ก เมื่อพยัญชนะ ㄱ อยู่พยางค์ที่สองเป็นต้นไป
เช่น 가가 (ㅏ = สระอา ) อ่านว่า คากา
** ออกเสียง ช เมื่อㅅประสมกับสระอีและสระเสียงควบกล้ำ"ย" ㅣ(สระอี),ㅑ(สระยา),ㅕ(สระยอ),ㅛ(สระโย),ㅠ (สระยู)
และเป็นเสียง ช ที่มาจากฐานเสียงบริเวณฟันหน้า
พยัญชนะคู่(ตัวซัง)
รูป คำอ่าน เทียบเสียงพยัญชนะไทย
ㄲ(쌍기역) ก่ เสียงหนัก
ㄸ (쌍디귿) ต
ㅃ (쌍비읍) ป
ㅆ (쌍시옷) ซ่ เสียงหนัก
ㅉ (쌍비읍) จ่ เสียงหนัก
สระ (모음)
สระพื้นฐาน
รูป / เทียบเสียงสระไทย
ㅏ / อา, อะ, อั-
ㅑ / ยา
ㅓ / ออ, เอาะ
ㅕ / ยอ
ㅗ / โอ, โอะ
ㅛ / โย
ㅜ / อู, อุ
ㅠ / ยู
ㅡ / อือ, อึ
ㅣ /อี, อิ
*ภาษาเกาหลีไม่แบ่งเป็นเสียงสระเป็นเสียงสั้นเสียงยาวชัดเจนขึ้นอยู่กับจังหวะในการพูด
สระประสม
รูป เทียบเสียงสระไทย
ㅐ แอ
ㅒ แย
ㅔ เอ
ㅖ เย
ㅘ วา
ㅙ แว
ㅚ เว
ㅝ วอ
ㅞ เว
ㅟ วี
ㅢ อึย,อี, เอ
โครงสร้างคำ (พยัญชนะ + สระ)
1. สระแนวตั้ง ㅏ,ㅑ,ㅓ,ㅕ,ㅣ,ㅐ,ㅒ,ㅔ,ㅖวางไว้ด้านขวาของพยัญชนะ เช่น 가
2. สระแนวนอน ㅗ,ㅛ,ㅜ,ㅠ,ㅡ วางไว้ด้านล่างของพยัญชนะ เช่น 고
3. สระประสมที่เกิดจากสระแนวนอนประสมกับสระแนวตั้ง ㅘ, ㅙ, ㅚ, ㅝ, ㅞ, ㅟ, ㅢ ให้วางตามลำดับ
คือวางสระแนวนอนไว้ใต้พยัญชนะก่อน จากนั้นเขียนตามด้วยสระแนวตั้งที่ด้านขวาของพยัญชนะครับ
ลำดับการเขียน 과 = ㄱ --> 고 --> 과
가 갸 거 겨 고 교 구 규 그 기
คา คยา คอ คยอ โค คโย คู คยู คือ คี
개 걔 게 계 과 괘 괴 궈 궤 귀 긔
แค คแย เค คเย ควา คแว คเว ควอ คเว่ ควี คึย(คี*)
나 냐 너 녀 노 뇨 누 뉴 느 니
นา นยา นอ นยอ โน นโย นู นยู นือ นี
내 냬 네 녜 놔 놰 뇌 눠 눼 뉘 늬
แน นแย เน นเย นวา นแว นเว นวอ นเว่ นวี นึย(นี*)
* เมื่ออ่านตามกฏการออกเสียงจะได้เสียงในวงเล็บ
** เสียงควบกล้ำ ย. เช่น คยา, คโย, นยอ ให้ออกเสียงรวบเป็น 1 พยางค์ โดยออกเสียงให้เร็วที่สุด
เมื่อออกเสียงแล้วไม่ใช่เสียง คะยา คะโย นะยอ ก็ถือว่าผ่านค่ะ วิธีฝึกออกเสียงตัวควบกล้ำ ย. มีอีกวิธี
คือลองรวบเสียงจาก คิยา คิโย นิยอ แต่อย่าลืมว่าให้ออกเสียงเร็วๆ และให้ได้เสียง 1 พยางค์นะคะ
*** ส่วนเสียงควบกล้ำ ว. เช่น 과 화 뭐 ออกเสียงได้ตามปกติเหมือนภาษาไทยได้เลยค่ะ ได้แก่ กวา ฮวา มวอ ตามลำดับ
เกาหลีแบบสุภาพ
*** 환영합니다 = ยินดีต้อนรับ ***
เริ่มต้นด้วยคำทักทายกันก่อนนะคะ
안녕하세요. อัน นยอง ฮา เซ โย
안녕히 가세요. อันยองฮี คา เซโย / ลาก่อน (พูดกับคนที่ไป)*
안녕히 계세요. อันยองฮี คเย เซโย / ลาก่อน (พูดกับคนที่อยู่)*
안녕히 주무세요. อันยองฮี ชูมู เซโย / ราตรีสวัสดิ์
감사합니다. คัมซา ฮัมนีดา /ขอบคุณ
미안합니다. มีอัน ฮัมนีดา / ขอโทษ
실례합니다. ชิล รเย ฮัมนีดา / ขอโทษ (ลักษณะที่เสียมารยาท)
괜찮습니다. แคว็นชั่น ซึมนีดา / ไม่เป็นไร (ตอบรับคำขอโทษ/ ขอบคุณ)
천만에요. ชอนมา เนโย / ไม่เป็นไร (ตอบรับคำขอบคุณ)
* สงสัยมั้ยคะว่าทำไมต้องมี 2 แบบ เพราะถ้าแปลตามความหมายตรงตัวจะแปลว่าขอให้ไปดีๆ/อย่างสวัสดิภาพนะคะ
และแบบที่ 2 คือขอให้อยู่ดีๆ/อย่างสวัสดิภาพนะ ดังนั้นใครจะอยู่ใครจะไปก็อวยพรกันให้ถูกนะคะ อย่าสับสน
แต่เอ๊ะแล้วถ้าต่างคนต่างก็แยกย้ายกันไปล่ะ - ง่ายๆค่ะ ต่างคนต้องต่างพูดว่า อันยองฮี คาเซโย ค่ะ
제 이름은.........입니다. เช อีรือมึน ............ อิมนีดา / ผม,ดิฉันชื่อ............
반갑습니다. พันกับ ซึมนีดา / ยินดีที่ได้รู้จัก
또 만납시다. โต มันนับชีดา / แล้วพบกันใหม่
ตัวอย่างประโยคแนะนำตัวเอง
안녕하세요? 저는 김하나 입니다. 반갑습니다.
อันยอง ฮา เซโย ชอนึน คิมฮานา อิมนีดา. พันกับ ซึมนีดา
สวัสดีค่ะ ดิฉันชื่อ คิมฮานา ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ
คำขอบคุณ
감사합니다. คัมซา ฮัมนีดา/ คัมซามีดา = ขอบคุณ (สุภาพกว่า)
고맙습니다. โคมับ ซึมนีดา = ขอบคุณ
고마워요. โคมาวอโย ขอบคุณ (สุภาพน้อยกว่า)
고맙다. โคมับตะ = ใช้พูดกับเด็กๆ
คำตอบรับขอบคุณ
괜찮습니다./ 천만에요. ไม่เป็นไรครับ/คะ
คำขอโทษ
죄송합니다. ชเว ซง ฮัมนีดา = ขอโทษ (สุภาพกว่า)
미안합니다. ขอโทษค่ะ
미안해요/ 죄송해요. มีอันแฮโย/ชเว-ซง แฮโย (สุภาพน้อยกว่า)
คำตอบรับขอโทษ
괜찮습니다. ไม่เป็นไรครับ/คะ
เริ่มต้นด้วยคำทักทายกันก่อนนะคะ
안녕하세요. อัน นยอง ฮา เซ โย
안녕히 가세요. อันยองฮี คา เซโย / ลาก่อน (พูดกับคนที่ไป)*
안녕히 계세요. อันยองฮี คเย เซโย / ลาก่อน (พูดกับคนที่อยู่)*
안녕히 주무세요. อันยองฮี ชูมู เซโย / ราตรีสวัสดิ์
감사합니다. คัมซา ฮัมนีดา /ขอบคุณ
미안합니다. มีอัน ฮัมนีดา / ขอโทษ
실례합니다. ชิล รเย ฮัมนีดา / ขอโทษ (ลักษณะที่เสียมารยาท)
괜찮습니다. แคว็นชั่น ซึมนีดา / ไม่เป็นไร (ตอบรับคำขอโทษ/ ขอบคุณ)
천만에요. ชอนมา เนโย / ไม่เป็นไร (ตอบรับคำขอบคุณ)
* สงสัยมั้ยคะว่าทำไมต้องมี 2 แบบ เพราะถ้าแปลตามความหมายตรงตัวจะแปลว่าขอให้ไปดีๆ/อย่างสวัสดิภาพนะคะ
และแบบที่ 2 คือขอให้อยู่ดีๆ/อย่างสวัสดิภาพนะ ดังนั้นใครจะอยู่ใครจะไปก็อวยพรกันให้ถูกนะคะ อย่าสับสน
แต่เอ๊ะแล้วถ้าต่างคนต่างก็แยกย้ายกันไปล่ะ - ง่ายๆค่ะ ต่างคนต้องต่างพูดว่า อันยองฮี คาเซโย ค่ะ
제 이름은.........입니다. เช อีรือมึน ............ อิมนีดา / ผม,ดิฉันชื่อ............
반갑습니다. พันกับ ซึมนีดา / ยินดีที่ได้รู้จัก
또 만납시다. โต มันนับชีดา / แล้วพบกันใหม่
ตัวอย่างประโยคแนะนำตัวเอง
안녕하세요? 저는 김하나 입니다. 반갑습니다.
อันยอง ฮา เซโย ชอนึน คิมฮานา อิมนีดา. พันกับ ซึมนีดา
สวัสดีค่ะ ดิฉันชื่อ คิมฮานา ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ
คำขอบคุณ
감사합니다. คัมซา ฮัมนีดา/ คัมซามีดา = ขอบคุณ (สุภาพกว่า)
고맙습니다. โคมับ ซึมนีดา = ขอบคุณ
고마워요. โคมาวอโย ขอบคุณ (สุภาพน้อยกว่า)
고맙다. โคมับตะ = ใช้พูดกับเด็กๆ
คำตอบรับขอบคุณ
괜찮습니다./ 천만에요. ไม่เป็นไรครับ/คะ
คำขอโทษ
죄송합니다. ชเว ซง ฮัมนีดา = ขอโทษ (สุภาพกว่า)
미안합니다. ขอโทษค่ะ
미안해요/ 죄송해요. มีอันแฮโย/ชเว-ซง แฮโย (สุภาพน้อยกว่า)
คำตอบรับขอโทษ
괜찮습니다. ไม่เป็นไรครับ/คะ
เกาหลีเบื้องต้น
สวัสดีเพื่อนๆ ที่สนใจอยากจะรู้จักกับภาษาเกาหลี ผมมีคำศัพท์ง่ายๆ มาให้ศึกษากัน
การทักทาย
안 녕 (อัน-นยอง) สวัสดี
처 음 (ช่อ-อึม) ครั้งแรก
븹 다 (เบบ-ดา) พบกัน
감 사 하 나 (คำ-ซา-ฮา-ดา) ขอบคุณ
당 신 (ทัง-ชิน) คุณ
평 안 하 다 (พยอง-อัน-ฮา-ดา) สบายดี
반 갑 다 (พัน-กับ-ดา) ยินดี
여 보 세 요 (ยอ-โบ-เซ-โย้) ฮัลโหล (ใช้ตอนรับสายโทรศัพท์)
성 함 / 이 름 (ซอง-ฮำ/อี-รืม) ชื่อ
무 엇 (มู-ออด) อะไร
การขอโทษ
미 안 하 다 (มีอันฮาดา) ขอโทษ
유 감 스 럽 다 (ยูกำซือหรอบดา) เสียใจ
용 서 하 다 (ยงซอฮาดา) ขออภัย
잘 못 하 다 (จัลมดฮาดา) ทำผิด
괜 잖 다 (แกวนซันทา) ไม่เป็นไร
การถาม
누구 (นูกู) ใคร
왜 (แว) ทำไม
어 떻 게 (ออ-ตอ-เก) อย่างไร
어 디 서 (ออดีซอ) ที่ไหน
บุคคลและครอบครัว
남 자 (นัมจา) ผู้ชาย
여 자 (ยอจา) ผู้หญิง
게 이 (เกอี) กระเทย
어 른 (ออ รึน) ผู้ใหญ่
님 자 아 이 (นัมจาอาอี) เด็กชาย
여 자 아 이 (ยอจาอาอี) เด็กหญิง
아 버 지 (อาบอจี) พ่อ
어 머 니 (ออมอนี) แม่
아 들 (อาดึล) ลูกชาย
딸 (ตัล) ลูกสาว
형 (ฮย็อง) พี่ชาย(น้องชายเรียกพี่ชาย)
오 빠 (โอปา) พี่ชาย(น้องสาวเรียกพี่ชาย)
누 나 (นูนา) พี่สาว(น้องชายเรียกพี่สาว)
언 니 (อ็อนนี) พี่สาว(น้องสาวเรียกพี่สาว)
남 동 생 (นัมดงแซ็ง) น้องชาย
여 동 생 (ยอดงแซ็ง) น้องสาว
사 촌 (ซาชน) ลูกพี่ลูกน้อง
남 편 (นัมพย็อน) สามี
아 내 (อาแน) ภรรยา
친 구 (ชินกู) เพื่อน
애 인 /연 인 (แออิน/ยออิน) แฟน/คู่รัก
การทักทาย
안 녕 (อัน-นยอง) สวัสดี
처 음 (ช่อ-อึม) ครั้งแรก
븹 다 (เบบ-ดา) พบกัน
감 사 하 나 (คำ-ซา-ฮา-ดา) ขอบคุณ
당 신 (ทัง-ชิน) คุณ
평 안 하 다 (พยอง-อัน-ฮา-ดา) สบายดี
반 갑 다 (พัน-กับ-ดา) ยินดี
여 보 세 요 (ยอ-โบ-เซ-โย้) ฮัลโหล (ใช้ตอนรับสายโทรศัพท์)
성 함 / 이 름 (ซอง-ฮำ/อี-รืม) ชื่อ
무 엇 (มู-ออด) อะไร
การขอโทษ
미 안 하 다 (มีอันฮาดา) ขอโทษ
유 감 스 럽 다 (ยูกำซือหรอบดา) เสียใจ
용 서 하 다 (ยงซอฮาดา) ขออภัย
잘 못 하 다 (จัลมดฮาดา) ทำผิด
괜 잖 다 (แกวนซันทา) ไม่เป็นไร
การถาม
누구 (นูกู) ใคร
왜 (แว) ทำไม
어 떻 게 (ออ-ตอ-เก) อย่างไร
어 디 서 (ออดีซอ) ที่ไหน
บุคคลและครอบครัว
남 자 (นัมจา) ผู้ชาย
여 자 (ยอจา) ผู้หญิง
게 이 (เกอี) กระเทย
어 른 (ออ รึน) ผู้ใหญ่
님 자 아 이 (นัมจาอาอี) เด็กชาย
여 자 아 이 (ยอจาอาอี) เด็กหญิง
아 버 지 (อาบอจี) พ่อ
어 머 니 (ออมอนี) แม่
아 들 (อาดึล) ลูกชาย
딸 (ตัล) ลูกสาว
형 (ฮย็อง) พี่ชาย(น้องชายเรียกพี่ชาย)
오 빠 (โอปา) พี่ชาย(น้องสาวเรียกพี่ชาย)
누 나 (นูนา) พี่สาว(น้องชายเรียกพี่สาว)
언 니 (อ็อนนี) พี่สาว(น้องสาวเรียกพี่สาว)
남 동 생 (นัมดงแซ็ง) น้องชาย
여 동 생 (ยอดงแซ็ง) น้องสาว
사 촌 (ซาชน) ลูกพี่ลูกน้อง
남 편 (นัมพย็อน) สามี
아 내 (อาแน) ภรรยา
친 구 (ชินกู) เพื่อน
애 인 /연 인 (แออิน/ยออิน) แฟน/คู่รัก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)